การเขียนโครงร่างการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
ขั้นตอนการทำวิจัย (การศึกษาค้นคว้าอิสระ หรือวิทยานิพนธ์) สายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปรับปรุง 9 เมษายน 2557.
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
ชื่อหัวข้อโครงงาน (ภาษาไทย) Project Title (English)
แนวคิดในการทำวิจัย.
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเลือกหัวข้อโครงงาน.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
คำอธิบายรายวิชา.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโครงร่างการวิจัย

1. ธรรมชาติและความสำคัญ ธรรมชาติของโครงร่างการวิจัย ความสำคัญของโครงร่างการวิจัย 1. เป็นสื่อ แปลกระบวนคิด (thinking process) ระหว่างผู้ทำวิจัยกับ ผู้อ่าน 2. เป็นกรอบควบคุมการดำเนินการวิจัย 3. เป็นเสมือน : สัญญาใจ / นิติกรรม / ข้อตกลง 4. เป็นสิ่งบ่งบอกคุณสมบัติและจรรยาบรรณของผู้วิจัย

2. การเขียนโครงร่างการวิจัย ความเข้าใจเบื้องต้น ข้อควรปฏิบัติก่อนเขียนโครงร่างการวิจัย 1. ผู้จะทำวิจัยต้องสำรวจตัวเอง และตอบตัวเองให้ได้ก่อนว่า ตัวเองมีกรอบความ สนใจ (field of interest) ในเรื่องใด 2. ผู้จะทำการวิจัยต้องทบทวนระเบียบวิธีการ และขั้นตอนในการทำวิจัยเป็นพื้นฐาน ก่อน 3. ผู้จะทำวิจัยต้องสำรวจ และ/หรือ ทำความคุ้นเคยกับพื้นที่ศึกษาให้ดีก่อน 4. ผู้จะทำการวิจัยควรได้มีการปรึกษาหารือผู้รู้ หรือผู้มีประสบการณ์ในการทำวิจัยก่อน 5. ผู้จะทำวิจัยควรขวนขวายหาความรู้ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยอยู่ตลอดเวลา

3. การเขียนโครงร่างการวิจัย การเขียนโครงร่างการวิจัยอาจทำได้ในหลายลักษณะ 1. เริ่มต้นจากผู้วิจัยเองทั้งหมด 2. มีการกำหนดเรื่อง / ปัญหาการวิจัยให้ 3. เขียนจากข้อกำหนดศึกษา (Terms of Reference : TOR)

4. ระเบียบวิธีการในการเขียนโครงร่างการวิจัย ชื่อเรื่อง ผู้ทำวิจัย / คณะผู้ทำวิจัย ที่มาและความสำคัญของการทำวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมติฐานการวิจัย กรอบแนวคิดในการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ (Operational definition) ขอบเขตของการวิจัย เวลา / สถานที่ / ประชากร / เนื้อหา

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บรรณานุกรม ระเบียบวิธีการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (Population & Sample) 2. ข้อมูลและแหล่งข้อมูล 3. เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. กรรมวิธีทางข้อมูล ตรวจสอบ / coding / วิเคราะห์ แผนการดำเนินการ งบประมาณในการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บรรณานุกรม

ไม่มีโครงร่างการวิจัย ก็ทำวิจัยได้ไม่ดีฉันนั้น.. 5. บทสรุป ..ไม่มีแปลนบ้าน สร้างบ้านได้ไม่ดีฉันใด ไม่มีโครงร่างการวิจัย ก็ทำวิจัยได้ไม่ดีฉันนั้น..