การเขียนโครงร่างการวิจัย
1. ธรรมชาติและความสำคัญ ธรรมชาติของโครงร่างการวิจัย ความสำคัญของโครงร่างการวิจัย 1. เป็นสื่อ แปลกระบวนคิด (thinking process) ระหว่างผู้ทำวิจัยกับ ผู้อ่าน 2. เป็นกรอบควบคุมการดำเนินการวิจัย 3. เป็นเสมือน : สัญญาใจ / นิติกรรม / ข้อตกลง 4. เป็นสิ่งบ่งบอกคุณสมบัติและจรรยาบรรณของผู้วิจัย
2. การเขียนโครงร่างการวิจัย ความเข้าใจเบื้องต้น ข้อควรปฏิบัติก่อนเขียนโครงร่างการวิจัย 1. ผู้จะทำวิจัยต้องสำรวจตัวเอง และตอบตัวเองให้ได้ก่อนว่า ตัวเองมีกรอบความ สนใจ (field of interest) ในเรื่องใด 2. ผู้จะทำการวิจัยต้องทบทวนระเบียบวิธีการ และขั้นตอนในการทำวิจัยเป็นพื้นฐาน ก่อน 3. ผู้จะทำวิจัยต้องสำรวจ และ/หรือ ทำความคุ้นเคยกับพื้นที่ศึกษาให้ดีก่อน 4. ผู้จะทำการวิจัยควรได้มีการปรึกษาหารือผู้รู้ หรือผู้มีประสบการณ์ในการทำวิจัยก่อน 5. ผู้จะทำวิจัยควรขวนขวายหาความรู้ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยอยู่ตลอดเวลา
3. การเขียนโครงร่างการวิจัย การเขียนโครงร่างการวิจัยอาจทำได้ในหลายลักษณะ 1. เริ่มต้นจากผู้วิจัยเองทั้งหมด 2. มีการกำหนดเรื่อง / ปัญหาการวิจัยให้ 3. เขียนจากข้อกำหนดศึกษา (Terms of Reference : TOR)
4. ระเบียบวิธีการในการเขียนโครงร่างการวิจัย ชื่อเรื่อง ผู้ทำวิจัย / คณะผู้ทำวิจัย ที่มาและความสำคัญของการทำวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมติฐานการวิจัย กรอบแนวคิดในการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ (Operational definition) ขอบเขตของการวิจัย เวลา / สถานที่ / ประชากร / เนื้อหา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บรรณานุกรม ระเบียบวิธีการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (Population & Sample) 2. ข้อมูลและแหล่งข้อมูล 3. เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. กรรมวิธีทางข้อมูล ตรวจสอบ / coding / วิเคราะห์ แผนการดำเนินการ งบประมาณในการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บรรณานุกรม
ไม่มีโครงร่างการวิจัย ก็ทำวิจัยได้ไม่ดีฉันนั้น.. 5. บทสรุป ..ไม่มีแปลนบ้าน สร้างบ้านได้ไม่ดีฉันใด ไม่มีโครงร่างการวิจัย ก็ทำวิจัยได้ไม่ดีฉันนั้น..