การตีราคาสินค้าคงเหลือ และ ต้นทุนขาย ความจำเป็นในการตรวจนับและตีราคาสินค้า Periodic ใช้ในการคำนวณสินค้าคงเหลือ เพื่อนำไปคำนวณต้นทุนขายต่อ Perpetual ตรวจสอบความถูกต้อง ของการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือ ไม่ว่ากิจการจะบันทึกบัญชีวิธีใด Perpetual หรือ Periodic กิจการควรมีการตรวจนับและตีราคาสินค้าคงเหลือ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
วิธีการตีราคาสินค้าคงเหลือ ที่ให้ผลถูกต้อง ชัดเจนที่สุดคือ วิธี…. เฉพาะเจาะจง : Specific Identification Method จะบันทึกต้นทุน และ ตีราคาสินค้า โดยใช้ต้นทุนจริงๆ ของสินค้าตัวที่ขาย A ฿ 3 A ฿ 3.2 3.2 ขาย ต้นทุนขาย = 6.5 A ฿ 3.5 สินค้าคงเหลือ =
Specific Identification เมื่อสินค้าถูกขาย ต้นทุนของสินค้านั้นๆ จะถูกโอนไปเป็นต้นทุนสินค้าที่ขาย
วิธีการตีราคาสินค้า วิธีอื่นๆ FIFO : First in First Out การซื้อ การขาย A ฿ 3 ฿ 3 ต้นทุนขาย 1 ในทางปฏิบัติ กิจการสามารถจะหยิบสินค้าชิ้นไหน ขายก่อนก็ได้ แต่ในทางบัญชี จะบันทึกต้นทุนโดยใช้แนวคิด FIFO สมมติว่า กิจการหยิบสินค้า ชิ้นที่ 2 ไปขาย ฿ 6.7 A 2 ฿ 3.2 สินค้าคงเหลือ A 3 ฿ 3.5
First-In, First-Out (FIFO) Oldest Costs Cost of Goods Sold Recent Costs Ending Inventory
วิธีการตีราคาสินค้า วิธีอื่นๆ LIFO : Last in First Out A 1 ฿ 3 2 ฿ 3.2 3 ฿ 3.5 การซื้อ การขาย ฿ 3.5 ต้นทุนขาย ในทางปฏิบัติ กิจการสามารถจะหยิบสินค้าชิ้นไหน ขายก่อนก็ได้ แต่ในทางบัญชี จะบันทึกต้นทุนโดยใช้แนวคิด LIFO สมมติว่า กิจการหยิบสินค้า ชิ้นที่ 2 ไปขาย ฿ 6.2 สินค้าคงเหลือ
Last-In, First-Out (LIFO) Recent Costs Cost of Goods Sold Oldest Costs Ending Inventory
วิธีการตีราคาสินค้า วิธีอื่นๆ Average : Moving จะคำนวณต้นทุนต่อหน่วยทุกครั้งที่ซื้อ A 1 ฿ 3 2 ฿ 3.2 3 ฿ 3.5 การซื้อ การขาย ถัวเฉลี่ย ฿ 3.23 3.00 ต้นทุนขาย ในทางปฏิบัติ กิจการสามารถจะหยิบสินค้าชิ้นไหน ขายก่อนก็ได้ แต่ในทางบัญชี จะบันทึกต้นทุนโดยใช้แนวคิด Average สมมติว่า กิจการหยิบสินค้า ชิ้นที่ 2 ไปขาย ฿ 6.46 3.10 สินค้าคงเหลือ 3.23
ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย จำนวนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย Weighted Average เมื่อสินค้าถูกขายไป ต้นทุนเฉลี่ยของสินค้าจะถูกโอนไปยัง ต้นทุนสินค้าที่ขาย ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย จำนวนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย ÷
จากโจทย์ในเอกสาร สามารถสรุปต้นทุนและมูลค่าสินค้าคงเหลือได้ดังนี้ จากโจทย์ในเอกสาร สามารถสรุปต้นทุนและมูลค่าสินค้าคงเหลือได้ดังนี้
สรุปการคำนวณ มูลค่าสินค้าคงเหลือ และต้นทุนขาย วิธีราคาทุน ต้นทุนขาย สินค้าปลาย Perpetual FIFO 2,150 2,040 2,260 1,930 LIFO 2,137 2,039 2,205 1,985 Average 2,145 2,045 2,145 2,045 Specific 2,140 2,050 1,940 2,250
ข้อดีของการตีราคาสินค้าคงเหลือแต่ละวิธี Weighted Average First-In, First-Out Last-In, First-Out ทำให้ราคาของ สินค้ามีความสม่ำเสมอ มูลค่าของสินค้าคงเหลือใกล้เคียงกับราคาเปลี่ยนแทนปัจจุบัน ต้นทุนของสินค้าที่ขายสัมพันธ์กับยอดรายได้
สัดส่วนการเลือกใช้วิธีราคาทุนในการตีราคาสินค้าคงเหลือ LIFO 36% FIFO 42% Others 4% AVG 19% From : Financial Accounting by KIMMELWEYGANDT and KIESO
การแสดงสินค้าในงบดุล สินค้าคงเหลือ จะแสดงในงบดุลด้วยมูลค่า “ราคาทุนหรือมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับสุทธิที่ต่ำกว่า” (lower of cost or net realizable value) มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับสุทธิ หมายถึง ราคาที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติ หัก ด้วยค่าใช้จ่ายในการที่จะทำให้สินค้านั้นๆ ไร้คุณภาพ เมื่อกิจการทราบมูลค่าราคาทุนของสินค้าคงเหลือแล้ว กิจการจะนำมาเปรียบเทียบกับราคาที่คาดว่าจะได้รับ ตัวใดต่ำกว่า เลือกใช้ตัวนั้น ให้แสดงอยู่ในงบดุล
มูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ ราคาทุน มูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ ต้นทุนทั้งหมดในการซื้อ บวกด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อสินค้านั้น ๆ ราคาของสินค้าที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติ หักด้วยต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นเพื่อให้สินค้านั้นๆ ขายได้ VS
การเปรียบเทียบราคาทุน กับ มูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ รายการสินค้า ราคาทุน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับ ราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ 600 ชุดโต๊ะทานอาหาร 600 850 520 490 680 790 650 300 790 ชุดเก้าอี้รับแขก ชุดตู้หนังสือ 520 ชุดเก้าอี้ในสวน 300 2,460 2,420 2,210
สินค้าคงเหลือสิ้นงวด คำวิจารณ์ วิธีราคาทุน ต้นทุนสินค้าที่ขาย สินค้าคงเหลือสิ้นงวด คำวิจารณ์ ตรงกับความเป็นจริง สินค้าที่มีลักษณะพิเศษ สินค้าแตกต่างกัน Specific ต้นทุนจริงของสินค้าที่ขาย ต้นทุนจริงของสินค้าที่เหลืออยู่ ต้นทุนซื้อ/จำนวนหน่วย จำนวนคงเหลือ X ต้นทุนต่อหน่วย ราคาต่อหน่วยเท่ากัน ถัวเฉลี่ยต้นทุน Average ต้นทุนขายเกิดจากสินค้ารุ่นเก่า สินค้าที่เหลือเป็นรุ่นใหม่ๆ ต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาครั้งแรกๆ ต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาครั้งหลังๆ FIFO LIFO ตรงข้ามกับ FIFO