ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์พัฒนา การเรียนการสอนโรงเรียนในฝัน
Advertisements

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
เศรษฐกิจ พอเพียง.
โรงเรียนภัทรญาณวิทยา
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
โครงการทำบุญเข้าวัดด้วยการแต่งชุดผ้าไทย
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
การศึกษาแบบพี่สอนน้อง (Teen as Teachers)
โครงงานเปียงหลวงร่วมใจ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การจัดเตรียมข้อมูลเชิงปริมาณ การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
ความดีเด่นของสถานศึกษา
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
กรอบการนำเสนอ - วิสัยทัศน์ ภาพพื้นที่เขต อำนาจหน้าที่
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ศึกษาพัฒนาและผลิตสื่อ ทางประวัติศาสตร์ในชุมชน
แนวทางการจัดทำงบประมาณ ของหน่วยงานในกำกับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ (1 ต.ค.2555 – 30 ก.ย. 2556) ฝ่ายแผนและพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี
โครงการ ส่งเสริมการออม.
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย
การส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติ สังคมศึกษา
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
โครงการอาชีพ การสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
๑. ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ปัญหาทางการศึกษา อุปสรรคทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านดอนกลาง
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
การอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณี ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
นางสาวเพ็ญประภา ศรีสุวรรณ
งานธุรกิจ สาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี.
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ Dreams Teams Group

วัฒนธรรมพื้นบ้าน สืบสานความเป็นไทย มุ่งสร้างอาชีพให้พอกิน พอใช้ วิสัยทัศน์ วัฒนธรรมพื้นบ้าน สืบสานความเป็นไทย มุ่งสร้างอาชีพให้พอกิน พอใช้ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

นางสาวสุมาลี ศรีจันทร์ นางสาวถิรนันท์ จิตสุข สมาชิกกลุ่ม นางสาวสุมาลี ศรีจันทร์ นางสาวถิรนันท์ จิตสุข

บทนำ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม ในสังคมมีวัฒนธรรม มนุษย์เป็นสัตว์สังคม ในสังคมมีวัฒนธรรม เป็นของตนเอง วัฒนธรรมเริ่มจากง่ายๆ ในกลุ่ม เล็กๆ จนขยายใหญ่ขึ้น จึงต้องจัดระเบียบในการ อยู่ร่วมกัน สร้างบรรทัดฐานต่างๆ ขึ้น เพื่อควบคุม สภาพแวดล้อมธรรมชาติ สภาพแวดล้อมสังคม เพื่อให้เกิดผลดีในการดำรงชีวิต

รูปแบบวัฒนธรรมพื้นบ้านที่ปรากฏ ได้แก่  ภาษา  วรรณกรรม  ดนตรี  การละเล่น  พิธีกรรม  ความเชื่อ  ประเพณี  สถาปัตยกรรม  และศิลปะ ด้านอื่น ความหลากหลายของวัฒนธรรม ดังกล่าว จะเห็นได้จากวิถีชีวิต ตำนาน นิทาน มุขปาฐะ การละเล่นพื้นบ้าน การแสดงต่างๆ ที่มีเอกลักษณ์ สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ชุมชน

การมีลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สิ่งเหล่านี้จะเป็นเครื่องยืนยันว่าวัฒนธรรม ประเพณี งานศิลปะในแขนงต่างๆ ของเรานั้น มีการสืบทอดต่อกันมาเป็นรุ่นๆ จนถึงปัจจุบันนี้ และคงอยู่ตลอดไป

แนวคิด 1. ทฤษฏีเศรษฐกิจ 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ “สังคมร่มเย็นเป็นสุขร่วมกัน” “อยู่อย่างพอเพียง พอกิน พอใช้”

ทฤษฏีการตั้งเป้าหมาย วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและผู้ที่ เกี่ยวข้องสืบทอด ฟื้นฟูและอนุรักษ์วัฒนธรรม ตามวิถีชีวิตของชุมชน เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้และสืบทอดวัฒนธรรม

วัตถุประสงค์ (ต่อ) เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันของคน ในชุมชน เพื่อให้คนในชุมชน มีความตระหนักและ ร่วมรักษามรดกทางวัฒนธรรม

แผนการดำเนินงาน ลานวัฒนธรรม พื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ

- งานโรงเรียนกับชุมชน วิธีดำเนินการ ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ขั้นวางแผน 1.1 วิเคราะห์ปัญหาความต้องการ - ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหาของชุมชน - สร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมภายในชุมชน 1 ตุลาคม 2551 - งานโรงเรียนกับชุมชน - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

- รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานทั่วไป วิธีดำเนินการ ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ขั้นดำเนินงาน 2.1 ดำเนินการประชุมชี้แจง 2.2 กำหนดแนวทาง วางแผนการดำเนินงานตามโครงการ - เชิญวิทยากรที่มีความรู้ในแขนงต่างๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน - การดำเนินงานตามโครงการลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสานสร้างอาชีพ ได้แก่ ดนตรีพื้นบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน งานจักสาน ทอผ้าไหม ทอเสื่อกกวรรณกรรมพื้นบ้าน พฤศจิกายน 2551   ธันวาคม 2551 มกราคม 2552 มกราคม 2552 - สิงหาคม 2552 - รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานทั่วไป - งานโรงเรียนกับชุมชน - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ขั้นประเมินผลและรายงานโครงการ วิธีดำเนินการ ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ขั้นประเมินผลและรายงานโครงการ 3.1 สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสานสร้างอาชีพ 3.2 ประเมินผลและรายงานโครงการลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสานสร้างอาชีพ กันยายน 2552 - งานโรงเรียนกับชุมชน - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

รูปแบบการดำเนินโครงการ เป็นการฝึกปฏิบัติการในการทำกิจกรรมต่างๆ เช่น ดนตรีพื้นบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน งานจักสาน การทอผ้าไหม ทอเสื่อกก ฯลฯ ให้กับเป้าหมาย ซึ่งได้แก่ ครู นักเรียน ผู้ปกครองในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน

งบลงทุน เป็นงบประมาณ ดำเนินการ จำนวนเงิน 50,000 บาท จำนวนเงิน 50,000 บาท เป็นค่าตอบแทนใช้สอย

การบริหารความเสี่ยง มีโครงสร้างการบริหารที่เหมาะสม กำหนดนโยบายการกำกับ นิเทศ ติดตามให้เหมาะสมกับกิจกรรม

ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง สืบทอด ฟื้นฟูและ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง สืบทอด ฟื้นฟูและ อนุรักษ์วัฒนธรรมตามวิถีชีวิตของชุมชน มีแหล่งเรียนรู้และสืบทอดวัฒนธรรมตาม วิถีชีวิตของชุมชน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ต่อ) สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการร่วม ปฏิบัติการฟื้นฟูและเผยแพร่ความรู้ด้านวัฒนธรรม โรงเรียน นักเรียน ชุมชนและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง มีความตระหนักและร่วมรักษามรดก ทางวัฒนธรรม

ประมวลภาพกิจกรรม ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน

การละเล่นพื้นบ้าน

การทอเสื่อกก การทอผ้าไหม ดนตรีพื้นบ้าน การทอเสื่อกก การทอผ้าไหม ดนตรีพื้นบ้าน