การจัดโต๊ะประชุม 3. แบบรูปตัวU/เกือกม้า ใช้ในการประชุมฝ่ายเดียวเป็น การให้ความเห็นร่วมกันหรือเพื่อ หาข้อยุติร่วมกัน ซึ่งมีประธานเพียง คนเดียว หรืออาจมีรองประธานนั่งร่วมกับประธาน ที่ประชุมก็ได้
การจัดโต๊ะประชุม 4.แบบคลาสรูม (CLASSROOM) ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถ ปรึกษาหารือซึ่งกันและกันใน ด้านประสานข้อมูลได้
การจัดโต๊ะประชุม แบบเธียเตอร์ ผู้เข้าร่วมประชุมมีโอกาสออก ความเห็นได้มากและความใกล้ชิด กันสามารถนั่งได้จำนวนมากและ การจัดแบบนี้ต้องพิจารณาว่ามี ประธานเพียงคนเดียว
การจัดโต๊ะประชุม 5. แบบโพลีเซียม ใช้ในการประชุมเพื่อนำเสนอวิชาการ การแสดงผลวิจัย การอธิบายรูปแบบทฤษฎีต่างๆ
ประเภทของการประชุม 1. ASSEMBLY เรียกว่าเป็นการประชุมสมัชชา ผู้นำองค์กรต่างๆประชุมหาข้อยุติการดำเนินงานร่วมกัน 2. CONVENTION เรียกว่าการประชุมใหญ่ที่กำหนดเป็นประจำทุกคาบ เช่น ทุกปี, 2ปี เป็นต้น 3. CONFERENCE การประชุมผู้แทนหน่วยงานองค์กรเพื่อแลกเปลี่ยนความคิด วิชาการ ทัศนคติร่วมกัน
ประเภทของการประชุม 4. COMMITTEE MEETING การประชุมผู้สันทัดกรณี เพื่อหาข้อตกลงร่วมกัน การประชุมแบบนี้เป็นการประชุมระหว่างคนในกลุ่มเดียวกัน (ประชุมสามัญ) 5. FORUM เป็นการประชุมแยกกลุ่มเพื่อศึกษาหาข้อยุติ วิพากย์ วิจารณ์ประเด็นสำคัญใหญ่ๆ โดยมีหัวข้อหลักแล้วแยกเป็นกลุ่มย่อย (ประชุมกันหลายวัน ) 6. SUMMIT เป็นการประชุมสุดยอดระหว่างผู้นำสูงสุดขององค์การเพื่อหาข้อยุติ ข้อตกลง การทำงานร่วมกัน
ประเภทของการประชุม 7. SYMPOSIUM เป็นการประชุมเชิงอภิปรายเพื่อวิจารณ์ข้อมูล การวิจัยหาข้อยุติทางวิชาการ มีการนำเสนอความเห็นและข้อมูล 8. SEMINAR เป็นการประชุมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น วิพากย์ วิจารณ์แต่ไม่มีข้อผูกพันใดๆ 9. WORK SHOP เป็นการประชุมเชิงปฏิบัติการที่เน้นการวินิจฉัยปัญหาจริงเสริมสร้างความรู้ทักษะ ตลอดจนกำหนดภาคปฏิบัติหรือกรณีศึกษา(Case Study)
วาระการประชุม 1. รับรองการประชุมครั้งที่แล้วก่อน 2. เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบถือเป็นเรื่องใหม่ของการประชุมครั้งใหม่ 3. เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบนั้นหากการประชุมนัดใดไมีก็ไม่ต้องบรรจุวาระนี้ 4. เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ควร เป็นเรื่องเฉพาะของประธานรับทราบมา
วาระการประชุม 5. ในวาระเรื่องอื่นๆ หรือวาระนั้น จะต้องเป็นเรื่องที่ไม่ใช่ขอหลักการ หรือขอพิจารณาตัดสินใจ หรือขอมติเพื่อเป็นเกณณ์นำไปปฏิบัติ 6. การบรรจุวาระการประชุมนั้นต้องผ่านที่เลขานุการ หรือประธานกรรมการเท่านั้น 7. ในกรณีมีเรื่องสังเขปจะเกริ่นให้กรรมการทราบเป็นสังเขปถึงเรื่องเดิมหรือความเป็นมา
วาระการประชุม 8. เอกสารประกอบการประชุมควรมีการคัด สรรเฉพาะที่เกี่ยวข้อง ย่อหรือตัดตอนเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องก็ได้ 9. เลขานุการที่ประชุมต้องศึกษาเรื่องต่างๆ ที่ อยู่ในวาระอย่างละเอียดและมีความเข้าใจอย่างดีเพื่อชี้แจงที่ประชุมได้