สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์กร
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การตลาดการเกษตร (The Agricultural Marketing) บุริม โอทกานนท์
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ สหกรณ์
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเงิน.
Analyzing The Business Case
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
Good Corporate Governance
การสร้างวิสัยทัศน์(Vision) ประเด็นยุทธศาสตร์
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
บทที่ 3 Planning.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
การบริหารความเสี่ยง สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ การจัดการแผนกลยุทธ์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการและแนวคิดของการบริหารความเสี่ยงและการประยุกต์ใช้การบริหารความเสี่ยงในการจัดการองค์กร

สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ งานของรัฐมากขึ้นและยากขึ้น รัฐต้องเล็กลง ลดเงิน ลดคน ลดอำนาจ ต้องเปิดให้มีส่วนร่วม ต้องโปร่งใส พร้อมถูกตรวจสอบ เศรษฐกิจเสรีไร้พรมแดน การแข่งขันในเวทีโลก กระแสสังคม เช่น ประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล สังคม เศรษฐกิจ เป็นยุคแห่งการเรียนรู้ ใครเรียนรู้ไม่ทันโลก ก็จะมีปัญหา

การบริหารจัดการองค์กร ทรัพย์สิน คน เงิน P Planning O Organizing L Leading C Controlling

Good Governance องค์กร Internal Control Risk Management Internal Audit

COSO การบริหารความเสี่ยงองค์กร (Enterprise Risk Management) การควบคุมภายใน (Internal Control)

 สถาบันผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งสหรัฐอเมริกา COSO : The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission  สถาบันผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งสหรัฐอเมริกา ( American Institute of Certified Public Accountants : AICPA ) สถาบันนักบัญชีแห่งสหรัฐอเมริกา  สถาบันผู้บริหารการเงิน ( American Accounting Association : AAA )  สถาบันผู้ตรวจสอบภายใน ( The Institute of Internal Auditors : IIA ) ( Financial Executives Institute : FEI ) ( Institute of Management Accountants : IMA )  สถาบันนักบัญชีเพื่อการบริหาร

เป้าหมายหลักขององค์กร  กำไร (Profitability)  มั่นคง (Stability)  เติบโต (Growth) 7

บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยง ทุกคนในองค์กร มีความรับผิดชอบต่อการบริหารความเสี่ยงองค์กรที่จะกระทบต่อ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่รับผิดชอบ โดยสอดคล้องกับคำสั่งและร่างข้อตกลงที่ได้กำหนดไว้ ดังนี้ คณะกรรมการ มีหน้าที่กำกับดูแลให้มีนโยบายและการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิผล ผู้บริหารสูงสุด มีความรับผิดชอบสูงสุด และรับบทบาทเป็นเจ้าของหรือเจ้าภาพที่จะจัดให้มี กระบวนการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารอื่นๆ มีหน้าที่สนับสนุนปรัชญาการบริหารความเสี่ยงองค์กร ส่งเสริมความร่วมมือ ต่อระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ และจัดการกับความเสี่ยงภายในขอบเขตความ รับผิดชอบที่สอดคล้องกับเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนของความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน มีหน้าที่สนับสนุนกระบวนการบริหารความเสี่ยง ผู้ตรวจสอบภายใน มีหน้าที่สอบทานและประเมินประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง ผู้สอบบัญชีภายนอก/หน่วยงาน/บุคคลอื่นภายนอกองค์กร ไม่มีความรับผิดชอบต่อ ประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง

การบริหารความเสี่ยงองค์กร วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยบริหารโอกาสและควบคุมความเสี่ยง เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น เชิงบวก โอกาส เชิงลบ ความเสี่ยง

10

ความเสี่ยงและโอกาส ความไม่แน่นอน การไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้อย่างแม่นยำถึงโอกาสเกิดของเหตุการณ์ในอนาคตและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ความเสี่ยง เหตุการณ์ในเชิงลบ หากเกิดขึ้น แล้วอาจสร้างความเสียหาย โอกาส เหตุการณ์ที่มีผลในเชิงบวก ซึ่ง ผู้บริหารควรนำไปพิจารณา กำหนดกลยุทธ์เพื่อนำไปปฏิบัติ ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอน ซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบในเชิงลบต่อวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กร โอกาส หมายถึง เหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอน ซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบในเชิงบวกต่อวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กร

การวิเคราะห์โอกาสและผลกระทบ ความเสี่ยงปานกลาง ผลกระทบรุนแรงมาก โอกาสเกิดน้อย ความเสี่ยงสูง โอกาสเกิดมาก ความเสี่ยงต่ำ ผลกระทบน้อย ผลกระทบ โอกาสที่จะเกิด

การบริหารความเสี่ยงองค์กร เครื่องมือนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ :- ด้านกลยุทธ์ (Strategic) ด้านการดำเนินงาน (Operation) ด้านการรายงาน (Reporting) ด้านการปฏิบัติตามกฎ/ระเบียบ/ข้อบังคับ (Compliance)

Strategic Formulation Performance Management Risk Management/ Internal Control Performance Management Vision & Strategy วิสัยทัศน์ แผนการบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง มาตรการจัดการความเสี่ยง มาตรการจัดการ ความเสี่ยงเพิ่มเติม พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย แผนปฏิบัติการ แผนการควบคุมภายใน ความเสี่ยง มาตรการควบคุม มาตรการควบคุม เพิ่มเติม Process & Activity แผนงาน การดำเนินงาน งาน/โครงการ 2 งาน/โครงการ 3 งาน/โครงการ n หน่วยงาน / ส่วนงานย่อยภายในองค์กร

การควบคุมภายในภาคราชการ การบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายตามนโยบายรัฐบาล การบริหารความเสี่ยงองค์กร แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี การควบคุมภายใน แผนปฏิบัติราชการประจำปี Input แผนของหน่วยปฏิบัติ งาน/โครงการ Process แผนปฏิบัติราชการ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย แผนปฏิบัติการ Output ประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล / คุ้มค่า การประเมินผลการควบคุมภายใน PMQA/การประกันคุณภาพ โดย เกศริน ภัทรเปรมเจริญ

การสนับสนุนจากผู้บริหาร การดำเนินการต่อเนื่อง การสื่อสารมีประสิทธิผล เป้าหมายที่ชัดเจน ความรับผิดชอบ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ การดำเนินการต่อเนื่อง การสื่อสารมีประสิทธิผล การวัดและติดตามผล