การให้บริการส่งยาสำหรับ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังทางไปรษณีย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
Graduate School Khon Kaen University
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย1
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
การเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ ของกรมแพทย์ทหารบก
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ยินดีต้อนรับ คณะผู้ตรวจสอบและประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รศ.ดร. เสริมศรี ไชยศร และ รศ.ดร.ดาราวรรณ.
โครงการจัดทำนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
งบประมาณเพื่อการวิจัย ตามวาระการวิจัยแห่งชาติ
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่
นโยบายงานควบคุมโรคเรื้อน
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
การลดอัตราการติดเชื้อผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ประเภทผลงาน ประเภทนวัตกรรม ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนาชุดอุปกรณ์พร้อมใช้
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
ศูนย์พึ่งได้ เด็กที่ได้รับ ผลกระทบจาก เอดส์ เด็กเปราะบาง เด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การให้บริการส่งยาสำหรับ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังทางไปรษณีย์ PCTเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่มีภาวะการทำงานของกระเพาะปัสสาวะผิดปกติ ต้องได้รับการบำบัดฟื้นฟูที่เหมาะสมและต่อเนื่อง แต่เนื่องจากผู้ป่วยดังกล่าวมีความพิการ มีความยากลำบากในการเดินทางอีกทั้งต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก ทำให้ผู้ป่วยบางรายขาดการรักษาและรับยาอย่างต่อเนื่องซึ่งทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ เช่น การทำงานของไตผิดปกติ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังทีมีการทำงานของกระเพาะปัสสาวะผิดปกติต้องได้รับการบำบัดฟื้นฟูที่เหมาะสม และต่อเนื่อง เช่น การได้รับยาคลายกระเพาะปัสสาวะ (bladder relaxant) เพื่อลดความดันในกระเพาะปัสสาวะ เป็นการป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น การทำงานของไตผิดปกติ การท้นกลับของปัสสาวะไปที่ไต

ดังนั้นจำเป็นต้องรับยาอย่างต่อเนื่องและติดตามผลการรักษาและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นทั้งจากตัวโรคและจากยาที่ได้รับ แต่เนื่องจากผู้ป่วยผู้พิการมีความยากลำบากในการเดินทาง และต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก กรณีที่ต้องจ้างเหมารถมาส่ง ทำให้ไม่ได้ขาดยา และขาดการติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง มีผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมาได้

ข้อมูลในแบบสอบถาม ชื่อ HN การวินิจฉัยโรค ระยะเวลาที่เป็นโรค วิธีการขับถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ ยาและปริมาณยาที่ใช้ การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ผลแทรกซ้อนจากยา เช่น ปากแห้งคอแห้ง ตาพร่ามัว

ผู้ป่วยกรอกข้อมูลลงแบบสอบถาม ส่งแบบสอบถามมาที่ภาควิชาฯ เจ้าหน้าที่ค้นบัตรและลงทะเบียน แพทย์สั่งยา ผู้ป่วยตอบแบบสอบถามที่ได้รับแล้วส่งมาที่ภาควิชา เมื่อถึงกำหนดรับยา หลังจากแพทย์จะสั่งยาให้โดยประเมินจากข้อมูลจากแบบสอบถาม ในบางรายจะเขียนคำแนะนำเพิ่มเติมให้ เมื่อได้ยาแล้วจึงจัดส่งยาให้ผู้ป่วยพร้อมทั้งแนบแบบสอบถามชุดใหม่ให้เพื่อใช้สำหรับขอรับยาครั้งต่อไป เจ้าหน้าที่จัดส่งยาพร้อมแบบสอบถามชุดใหม่ให้ผู้ป่วย

ผู้ป่วยที่ได้รับยาทางจดหมายมีจำนวนทั้งสิ้น 40 ราย ชาย 33 ราย หญิง 7 ราย อายุเฉลี่ย 35.7 ปี (21-70 ปี) ผู้ป่วยอัมพาตท่อนล่าง 23 ราย อัมพาตแขนขา 17 ราย ดังนั้นภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟูจึงจัดให้มีบริการส่งยาทางไปรษณีย์ขึ้น โดยจัดทำแบบสอบถาม ซึ่งข้อมูลในแบบสอบถามประกอบด้วย ชื่อ HN การวินิจฉัยโรค ระยะเวลาที่ป็นโรค วิธีการขับถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ ยาและปริมาณยาที่ใช้ การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ รวมถึงผลแทรกซ้อนจากยา เช่น ปากแห้งคอแห้ง ตาพร่ามัว

เชียงใหม่ 10 ราย เชียงราย 3 ราย พะเยา 9 ราย น่าน 5 ราย แม่ฮ่องสอน 1 ราย แพร่ 3 ราย ลำพูน 4 ราย อุดรธานี 1 ราย ลำปาง 2 ราย กำแพงเพชร 1 ราย ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น อยุธยา 1 ราย

วิธีการขับถ่ายปัสสาวะ 26 รายใช้วิธีการสวนปัสสาวะเป็นครั้งด้วยตนเอง (clean intermittent self catheterization) 2 ราย มีผู้ดูแลสวนปัสสาวะให้เป็นครั้ง (clean intermittent catheterization) 12 ราย ใช้วิธีใส่คาสายสวนปัสสาวะ (indwelling catheterization) ผู้ป่วยได้รับยาคลายกระเพาะปัสสาวะเพื่อป้องกันการหดตัวของกระเพาะปัสสาวะ และติดต่อขอรับยาทางไปรษณีย์ทุกคน

ผู้ป่วยตอบแบบสอบถามส่งกลับมาทุกครั้ง การส่งยาทางไปรษณีย์ ผู้ป่วยตอบแบบสอบถามส่งกลับมาทุกครั้ง ผู้ป่วย สามารถเข้าถึงบริการได้ง่าย สะดวก ประหยัดค่าใช้จ่าย ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง และป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดผลข้างเคียงของการใช้ยา แพทย์สามารถติดตาม ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความปลอดภัยของการใช้ยา ในระยะยาว

ขอบคุณค่ะ