เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1.กดปุ่ม Unzip (เลือกเป็น D:\)
Advertisements

ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
ขั้นตอนการบันทึกประวัติและลงทะเบียนสำหรับนักศึกษาใหม่
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
กลุ่มคำสั่ง SQL สามารถแบ่งได้ดังนี้
20 October Management of Information Technology Chapter 7 part c Chapter 7 part cE-Commerce Asst. Prof. Wichai Bunchua .
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
บทที่ 5 Visual C#.NET กับ ฐานข้อมูล
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
สถาปัตยกรรม ActiveX Data Object (ADO)
การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP Objects
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
PHP-4 ติดต่อกับฐานข้อมูล MS-Access
ASP [#15] การใช้งาน ASP กับ Mysql ผ่าน ODBC การทำสมุดเยี่ยม Guestbook
ASP [ # 11 ] เตรียมความพร้อมก่อนติดต่อกับ Ms Access
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง Basic SQL
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง Active Server Pages (ASP)
Information and Communication Technology
ASP:ACCESS Database.
Seree Chinodom Recordset Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
Seree Chinodom Connection Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
Information and Communication Technology
ASP:ACCESS Database.
ASP กับฐานข้อมูล.
การเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล
SCC : Suthida Chaichomchuen
การสร้างจดหมายเวียน.
Introduction to php Professional Home Page :PHP
Php with Database Professional Home Page :PHP
โปรแกรม Microsoft Access
Database Programming Exceed Camp #2 24 October 2005.
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
การเชื่อมต่อฐานข้อมูล โดยใช้คอนโทรล SQLDataSource
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 23 มิถุนายน 2550 Data Selecting by ASP มหาวิทยาลัยโยนก.
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 23 มิถุนายน 2550 Data Updating by ASP มหาวิทยาลัยโยนก.
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 กรกฎาคม 2550 แฟ้มข้อความ (Text File) #2 มหาวิทยาลัยโยนก.
PHP:Hypertext Preprocessor
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
HTML, PHP.
การใช้งาน ASP.NET 3.5 ด้านฐานข้อมูล
การรับรองรายงานการประชุม ผ่านเว็บไซต์จังหวัดลพบุรี
การเรียนรู้ Internet Explorer 6.0
เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลพนักงาน ด้วย ADO.NET vs. DataReader
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
พื้นฐานการใช้งาน Microsoft Word 2007
เสรี ชิโนดม รู้จักกับ PHP เสรี ชิโนดม
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC
1. การเขียนโปรแกรมภาษา PHP เบื้องต้น
13 October 2007
13 October 2007
13 October 2007
13 October 2007
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
เขียนโปรแกรมกับฐานข้อมูล (Database Programming)
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
ASP เตรียมความพร้อมก่อนติดต่อกับ Ms Access การนำข้อมูลจากตารางมาแสดง
การสร้างและการใช้งานฟอร์ม
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database 20 July 2001 เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ E-mail:wichai@buu.ac.th http://bucc4.buu.ac.th/~wichai E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

20 July 2001 ASP กับ Access วัตถุประสงค์ของการใช้ ASP เพื่อนำข้อมูลจากฐานข้อมูล Access มาแสดงผลบนเว็บ เรียกว่า Web database เป็นการทำงานแบบ Server side และ Server ต้องสนับสนุนฐานข้อมูล Access และ ASP Free server ที่สนับสนุน Access และ ASP http://www.webhostme.com http://www2.ewebcity.com 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

ทางเลือกการพัฒนา Web Database 20 July 2001 ทางเลือกการพัฒนา Web Database CGI ใช้ ภาษา Java, Perl, C++ บน UNIX PHP (Professional Home Page) เป็น Open source JSP (Java Server Pages) Cold Fusion บน Cold Fusion Server ASP บน IIS และ PWS 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล 20 July 2001 การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรม ASP เพื่อเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล Microsoft Access ต้องมี driver ช่วย ซึ่งมีหลายแบบ ODBC (Open Database Connectivity) โดยการสร้าง DSN (Data Source Name) DSNLess ไม่ใช้ DSN OLEDB 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

20 July 2001 รูปแบบการใช้ DSNLess คำสั่ง ASP เพื่อเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลแบบ DNSLess มี 2 ส่วน 1 Set ObjDB=Server.CreateObject(“ADODB.Connection”) เชื่อมต่อฐานข้อมูลผ่าน DNSLess ด้วยออปเจ็กต์ ObjDB 2 ObjDB.Open “DRIVER={Microsoft Access Driver (*.mdb)}; DBQ=“F:\\home\\310303\\4402xxxx\\db-file.mdb” ใช้เมธอด Open เพื่อติดต่อฐานข้อมูล Microsoft Access โดยมี DBQ (Databasw Querry) บอกชื่อไฟล์ และไดเร็กทอรี่ 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

การเขียนคำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาใช้ 20 July 2001 การเขียนคำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาใช้ การเขียนโปรแกรม ASP เพื่อดึงข้อมูลจาก Access มี 3 ส่วน 1 คำสั่ง ASP เพื่อสร้างเร็กคอร์ดเซ็ต Set ObjRS=Server.CreateObject(“ADODB.RecordSet”) เมื่อ ObjRS เป็นออปเจ็กต์ที่ติดต่อเร็กคอร์ดเซ็ต 2 คำสั่ง SQL เพื่อดึงข้อมูลมาไว้ในตัวแปร SQL เช่น SQL=Select * From Employee 3 เขียนคำสั่ง ASP ให้เอ็กซิคิวต์ SQL Set ObjRS = ObjDB.Execute(SQL) 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

การเขียนคำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาใช้ (2) 20 July 2001 การเขียนคำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาใช้ (2) หมายเหตุ ข้อ 5 อาจเขียนเป็น ObjRS.Open SQL, ObjDB ข้อ 4 และ 5 อาจเขียนรวมกันเป็นคำสั่งเดียว คือ ้ Set ObjRS=ObjDB.Execute(“Select * From Employee”) ก็ได้ 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

สรุปขั้นตอนการติดต่อ Access 20 July 2001 สรุปขั้นตอนการติดต่อ Access 1 สร้างฐานข้อมูลด้วย Access 2 เขียนโค้ด ASP เชื่อมต่อฐานข้อมูล (ใช้ DNSLess) 3 เขียนโค้ด ASP เพื่อสร้างเร็กคอร์ดเซ็ต 4 เขียนคำสั่ง SQL เพื่อดึงข้อมูลมาใช้งาน 5 เขียนคำสั่งให้เอ็กซิคิวต์ SQL 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

ตัวอย่างโปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูล 20 July 2001 ตัวอย่างโปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูล <% Set ObjDB=Server.CreateObject(“ADODB.Connection”) ObjDB.Open “DRIVER={Microsoft Access Driver (*.mdb)}; DBQ=F:\\home\\staff\\wichai\\Bookshop.mdb” Set ObjRS=Server.CreateObject“ADODB.RecordSet”) SQL=“Select * From book by title” Set ObjRS=ObjDB.Execute(SQL) %> 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

Property ของ Object Recordset 20 July 2001 Property ของ Object Recordset Property ของ Object Recordset ที่ใช้เปลี่ยนคำสั่งดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล BOF ตำแหน่งเริ่มต้นของไฟล์ EOF ตำแหน่งสุดท้ายของไฟล์ Name ชื่อฟิลด์ RecordCount จำนวนเรคคอร์ดทั้งหมด FieldsCount จำนวนฟีลด์ทั้งหมด Value ข้อมูลในฟิลด์นั้น 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

Method ของ Object Recordset 20 July 2001 Method ของ Object Recordset Method ที่ใช้ Open เปิดเรคคอร์ดแรก Close ปิดเรคคอร์ด AddNew เพิ่มเรคคอร์ด Delete ลบเรคคอร์ด Update แก้ไขข้อมูลในเรคคอร์ด MoveNext ย้ายพอยท์เตอร์ไปยังเรคคอร์ดถัดไป 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

การอ่านข้อมูลและแสดงข้อมูล 20 July 2001 การอ่านข้อมูลและแสดงข้อมูล 1 พิมพ์หัวรายงาน 2 ติดต่อฐานข้อมูล และ สร้าง Object เพื่อดึงข้อมูล 3 พิมพ์หัวตาราง (ชื่อคอลัมน์) 4 พิมพ์ข้อมูลใน Recordset ทีละเรคคอร์ด 5 เลื่อนไปยังเรคคอร์ดถัดไป โดยใช้ MoveNext 6 เมื่อหมดข้อมูลให้พิมพ์ท้ายตาราง 7 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_01.asp 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

การเพิ่มข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างแบบฟอร์มกรอกข้อมูล 20 July 2001 การเพิ่มข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างแบบฟอร์มกรอกข้อมูล 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ครบ 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 บันทึกลงในฐานข้อมูล 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_02.asp 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

การตรวจสอบการส่งข้อมูล 20 July 2001 การตรวจสอบการส่งข้อมูล 1 ถ้าคลิกปุ่ม Add โดยไม่ได้กรอกข้อมูล หรือกรอกไม่ครบ ให้แสดงข้อความว่า “โปรดกรอกข้อมูลให้ครบ 2 ถ้าเพิ่มข้อมูลในฐานข้อมูลเสร็จแล้ว ให้แสดงข้อความว่า “เพิ่มข้อมูลให้แล้ว” และถามว่า จะเพิ่มอีก หรือจะหยุด หรือจะดูข้อมูล 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

การสืบค้นข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 20 July 2001 การสืบค้นข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลสืบค้น โดยระบุว่าเป็นฟิลด์ใด 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 เปรียบเทียบข้อมูลสืบค้นกับข้อมูลในฐานข้อมูล ถ้าพบข้อมูล ให้แสดงข้อมูลนั้น ถ้าไม่พบ ให้พิมพ์ข้อความว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_03.asp 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

การแก้ไขข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลที่ต้องการแก้ไข 20 July 2001 การแก้ไขข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลที่ต้องการแก้ไข 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 เปรียบเทียบข้อมูลสืบค้นกับข้อมูลในฐานข้อมูล ถ้าไม่พบ ให้พิมพ์ข้อความว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” ถ้าพบข้อมูล ให้แสดงข้อมูลนั้น และเขียนข้อมูลใหม่ทับ 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_04.asp และ ex10_05.asp 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

การลบข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลที่จะลบ 20 July 2001 การลบข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลที่จะลบ 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 เปรียบเทียบข้อมูลสืบค้นกับข้อมูลในฐานข้อมูล ถ้าไม่พบ ให้พิมพ์ข้อความว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” ถ้าพบข้อมูล ให้แสดงข้อมูลนั้น และลบข้อมูลเรคอร์ดนั้น 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_06.asp และ ex10_07.asp 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th

The End 20 July 2003 E-mail:wichai@buu.ac.th 20 July 2001 E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th