โครงงานด้านวิศวกรรม การศึกษาปริมาณการใช้น้ำในการปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
จัดทำโดย กลุ่ม 2 สมาชิกประกอบด้วย
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
เอกสารเคมี Chemistry Literature
เศรษฐกิจพอเพียง.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร ) รหัสวิชา ง 414
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
การนำผลการทดลองสู่พื้นที่เกษตรกร
โครงการชลประทานหนองคาย
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบอัตราส่วนน้ำยาฟอกฆ่าเชื้อจากสารเคมีและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมล็ดหม้อข้าวหม้อแกงลิง.
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
เกษตรทฤษฎีใหม่.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553
การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรม จังหวัดปทุมธานี
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
1. ความเป็นมา ตามที่ นางวงษ์เดือน มุขเงิน นายกองค์การ บริหารส่วนตำบลหนองประดู่ อำเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี ได้ทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา ผ่าน ราชเลขาธิการ ขอพระราชทานแหล่งน้ำเพื่อใช้ใน.
จัดทำโดย นางสาวนูรีฮา อามะ
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชิ้นงานที่ 3 ชื่อนางสาวจรรยา พุฒเจริญ. โครงงานคอมพิวเตอร์เป็น งานวิจัยในระดับนักเรียนเป็น การใช้คอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์อื่นๆที่มีอยู่ใน การศึกษาทดลองแก้ปัญหา.
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายบุญสวย เชื้อสะอาด
โครงการฝายยางลำเซบาย ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ผู้จัดทำ นายเอกพจน์ นรชาติวศิน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จิตต์อารีฯ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงานด้านวิศวกรรม การศึกษาปริมาณการใช้น้ำในการปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง

จัดทำโดย นายวรวุฒิ แหยมยินดี 5280100625 นายวรวุฒิ แหยมยินดี 5280100625 นางสาวหนึ่งฤทัย กรองทอง 5280100846

เสนอ ดร. วัชระ เสือดี อาจารย์สิโรจน์ ประคุณหังสิต ดร. วัชระ เสือดี ประธานกรรมการ อาจารย์สิโรจน์ ประคุณหังสิต กรรมการ อาจารย์ชวกร ลิ้วตระกูลไพบูลย์ กรรมการ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย   1. เพื่อเปรียบเทียบปริมาณการใช้น้ำระหว่างการปลูกข้าวแบบทั่วไปและการปลูกข้าวแบบนาเปียกสลับแห้ง 2. เพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้จากการปลูกข้าวแบบทั่วไปและการปลูกข้าวแบบนาเปียกสลับแห้ง

ขอบเขตการวิจัย 1. ขอบเขตพื้นที่ การทดลองครั้งนี้จะดำเนินการทดลองในแปลง ของสถานีทดลองการบริหารจัดการน้ำด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ พื้นที่ ทดลอง 1,600 ม2 ภายในสถาบันพัฒนาการชลประทาน 2. ขอบเขตการวิจัย การทดลองครั้งนี้จะทดลองโดยจะปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการใช้น้ำที่เหมาะสม

ประโยชน์และคุณค่าของการวิจัย เป็นแหล่งข้อมูลทางด้านวิชาการที่ได้จากผลการศึกษาวิจัย โดยได้ทราบถึงการเจริญเติบโตการให้ผลผลิตของข้าวที่ปลูกแบบเปียกสลับแห้ง และการเพิ่มผลผลิตให้ภาคเกษตรกรรมใช้น้ำชลประทานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ระยะเวลาการดำเนินงานวิจัย วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 – วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556

การผลิตข้าวระบบ “เปียกสลับแห้ง แกล้งข้าว” การผลิตข้าวระบบ “เปียกสลับแห้ง แกล้งข้าว” มีความแตกต่างจากการปลูกข้าวนาดำแบบปกติ โดยในระยะเวลาตั้งแต่เริ่มเพาะปลูกได้มีการให้แปลงเพาะปลูก เปียกสลับกับแห้ง เพราะช่วงที่แห้งจะทำให้รากของต้นข้าวต้องการน้ำ รากจึงหนาและมีจำนวนมาก การทำเช่นนี้จะทำให้ต้นข้าวแข็งแรง ไม่เป็นโรค การเจริญเติบโตก็ดีขึ้นด้วย และที่สำคัญการปลูกแบบเปียกสับแห้งใช้น้ำน้อย ช่วยป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และแก้ปัญหานาหล่ม ข้าวไม่ล้มตอนเกี่ยวรวมถึงลดน้ำต้นทุนอีกด้วย

ขั้นตอนการทำงาน

ประหยัดน้ำ 45.43 % จากการเก็บข้อมูลตามระยะเวลา การเก็บข้อมูลปริมาณน้ำในพื้นที่เพาะปลูก 1 ไร่ หรือ 1600 m2 การปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้งมีการใช้ปริมาณน้ำตลอดการเพาะปลูก มีค่าเท่ากับ 944.77 m3 การปลูกข้าวแบบปกติมีการใช้ปริมาณน้ำตลอดการเพาะปลูก มีค่าเท่ากับ 1731.2 m3 (เมื่อคิดเป็น 1 ไร่ หรือ 1600 m2) เมื่อคิดเป็น เปอร์เซ็นต์ แล้ว การปลูกแบบนาเปียกสลับแห้ง ประหยัดน้ำ 45.43 %

จบการนำเสนอ