การประยุกต์ใช้แบบจำลอง SOBEK

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

ชมรมครูคณิตศาสตร์อาชีวศึกษา วันที่ 2-5 เมษายน 2557
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
โปรแกรมเก็บสถิติทั่วไปด้านจัดสรรน้ำ ของโครงการชลประทาน (IRRIPROSTAT)
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูล เพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. จุดอ่อน ของคณะฯ 1.1 ยังไม่มี SERVERS เป็นของคณะฯเอง.
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
โครงสร้างสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
ตำแหน่งติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำที่เหมาะสม
COP : พัฒนาแหล่งน้ำ.
RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14.
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.4 : ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับ ทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จากภายในสถาบันต่ออาจารย์ประจำ ทุกระดับ 1. จุดอ่อน อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระงาน.
การเขียนรายงานสถานการณ์ การเฝ้าระวังและเตือนภัย ทางสังคม
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การศึกษาความพร้อมในการใช้การจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป จัดทำโดย นางสาววราพร วิริยะไชยกุล ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การบริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศ
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ
ความก้าวหน้าโครงงานวิศวกรรม
แผนพัฒนาระบบข้อมูล การจัดทำรายงาน และแผนการสนับสนุน.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
ระเบียบวาระที่ 3.2 ความก้าวหน้าของการจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศข้าราชการระดับกรม (DPIS)
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
CAMT Ratchapong Horchairat No หลักการการวิจัยการ จัดการความรู้ (Principles of Knowledge Management Research) KM704 1 Assignment.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
CAMT Ratchapong Horchairat No หลักการการวิจัยการ จัดการความรู้ (Principles of Knowledge Management Research) KM704 1 Assignment.
โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรซีส
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
ผังแสดงกรอบแนวคิดในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านการบริหารโครงการ
สิ่งดีๆจากการทำงานแผน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
ชื่อนักวิจัย / ผู้ดำเนินงาน งบประมาณได้รับสนับสนุน บาท เบิกจ่ายแล้ว บาท ชื่อโครงการ สังกัดพื้นที่ คณะ สาขา รายงาความก้าวหน้าโครงการวิจัยและบริการ.
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
สาขา การบริหารการศึกษา
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและ การเกษตร ( องค์การมหาชน )
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
นโยบายด้านการทำวิจัย สถาบัน และการจัดการองค์ความรู้ ของ CITCOMS 5 สิงหาคม 2557.
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ใช้แบบจำลอง SOBEK เพื่อการบริหารจัดการอุทกภัย ในลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง โดย กรมชลประทาน ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเทศเนเธอแลนด์

เหตุผลและความจำเป็น มหาอุทกภัยปี 54 ขาดแบบจำลองที่ละเอียด ภายหลังอุทกภัยมีโครงการความร่วมมือจาก JICA ได้เส้นชั้นความสูงและแบบจำลอง RRI แบบจำลองดังกล่าวยังขาดการเปรียบเทียบและเชื่อมกับโทรมาตร กรมชลประทานมีความร่วมมือกับประเทศเนเธอแลนด์ เกี่ยวกับแบบจำลอง SOBEK เห็นควรทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาแบบจำลอง SOBEK เพื่อเปรียบเทียบและเชื่อมกับระบบโทรมาตรของกรมชลประทาน

วัตถุประสงค์ (หน้า 7) เพื่อทบทวนเหตุการณ์อุทกภัย / แบบจำลอง RRI วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง มาตรการแก้ไข บรรเทา พัฒนาแบบจำลอง SOBEK เพื่อใช้ในการพยากรณ์และจัดการอุทกภัยในบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างและเชื่อมโยงกับระบบโทรมาตรของกรมชลประทาน โดยพยากรณ์ขนาดของอุทกภัย ตำแหน่งที่เกิดและระดับความรุนแรงของภัยน้ำท่วมและขนาดพื้นที่ที่คาดว่าจะเกิดภัยในช่วงเวลาต่าง ๆ โดยแสดงผลในรูปแบบ GIS เปรียบเทียบผลที่ได้จากแบบจำลอง SOBEK กับแบบจำลอง RRI เพื่อการพัฒนาแบบจำลองทั้ง 2 ให้ดียิ่งขึ้นไปในอนาคต เสนอแนวทางปฏิบัติสำหรับการพยากรณ์และเตือนภัยแบบเป็นเอกภาพและบูรณาการ

  1.ข้อมูลเส้นชั้นความสูงของพื้นที่บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง ที่มีความละเอียด ได้จากโครงการความร่วมมือ ไทย ญี่ปุ่น 2.แบบจำลอง SOBEK ที่ได้รับการสนับสนุน ตามโครงการความร่วมมือกับประเทศเนเธอแลนด์ ระดับน้ำท่วม (Flood Mark) ตามสถานที่ต่างๆ จากเหตุการณ์ที่ผ่านมาในปี พ.ศ. 2554 สามารถใช้เป็นข้อมูลสอบเทียบแบบจำลองได้เป็นอย่างดี 3.ระบบโทรมาตรในลุ่มน้ำเจ้าพระยาของกรมชลประทาน ที่สามารถรายงานข้อมูลต่างๆ ได้แบบ ณ เวลาจริง 4.ความพร้อมด้านบุคลากรที่จะทำงานวิจัย ตามความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมชลประทานกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (โครงการวิจัยร่วม โครงการปริญญาโท และปริญญาเอก วิศวกรรมชลประทาน) 5.ประสบการณ์จริงและบทเรียนจากอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 ที่ผ่านมา จะถูกนำมาใช้วิเคราะห์ความถูกต้องและความเป็นไปได้ในการประยุกต์จริงในพื้นที่ ปัจจัยสนับสนุน

หน้า 12 คณะทำงาน หน้า 16

The end