การประยุกต์ใช้แบบจำลอง SOBEK เพื่อการบริหารจัดการอุทกภัย ในลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง โดย กรมชลประทาน ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเทศเนเธอแลนด์
เหตุผลและความจำเป็น มหาอุทกภัยปี 54 ขาดแบบจำลองที่ละเอียด ภายหลังอุทกภัยมีโครงการความร่วมมือจาก JICA ได้เส้นชั้นความสูงและแบบจำลอง RRI แบบจำลองดังกล่าวยังขาดการเปรียบเทียบและเชื่อมกับโทรมาตร กรมชลประทานมีความร่วมมือกับประเทศเนเธอแลนด์ เกี่ยวกับแบบจำลอง SOBEK เห็นควรทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาแบบจำลอง SOBEK เพื่อเปรียบเทียบและเชื่อมกับระบบโทรมาตรของกรมชลประทาน
วัตถุประสงค์ (หน้า 7) เพื่อทบทวนเหตุการณ์อุทกภัย / แบบจำลอง RRI วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง มาตรการแก้ไข บรรเทา พัฒนาแบบจำลอง SOBEK เพื่อใช้ในการพยากรณ์และจัดการอุทกภัยในบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างและเชื่อมโยงกับระบบโทรมาตรของกรมชลประทาน โดยพยากรณ์ขนาดของอุทกภัย ตำแหน่งที่เกิดและระดับความรุนแรงของภัยน้ำท่วมและขนาดพื้นที่ที่คาดว่าจะเกิดภัยในช่วงเวลาต่าง ๆ โดยแสดงผลในรูปแบบ GIS เปรียบเทียบผลที่ได้จากแบบจำลอง SOBEK กับแบบจำลอง RRI เพื่อการพัฒนาแบบจำลองทั้ง 2 ให้ดียิ่งขึ้นไปในอนาคต เสนอแนวทางปฏิบัติสำหรับการพยากรณ์และเตือนภัยแบบเป็นเอกภาพและบูรณาการ
1.ข้อมูลเส้นชั้นความสูงของพื้นที่บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง ที่มีความละเอียด ได้จากโครงการความร่วมมือ ไทย ญี่ปุ่น 2.แบบจำลอง SOBEK ที่ได้รับการสนับสนุน ตามโครงการความร่วมมือกับประเทศเนเธอแลนด์ ระดับน้ำท่วม (Flood Mark) ตามสถานที่ต่างๆ จากเหตุการณ์ที่ผ่านมาในปี พ.ศ. 2554 สามารถใช้เป็นข้อมูลสอบเทียบแบบจำลองได้เป็นอย่างดี 3.ระบบโทรมาตรในลุ่มน้ำเจ้าพระยาของกรมชลประทาน ที่สามารถรายงานข้อมูลต่างๆ ได้แบบ ณ เวลาจริง 4.ความพร้อมด้านบุคลากรที่จะทำงานวิจัย ตามความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมชลประทานกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (โครงการวิจัยร่วม โครงการปริญญาโท และปริญญาเอก วิศวกรรมชลประทาน) 5.ประสบการณ์จริงและบทเรียนจากอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 ที่ผ่านมา จะถูกนำมาใช้วิเคราะห์ความถูกต้องและความเป็นไปได้ในการประยุกต์จริงในพื้นที่ ปัจจัยสนับสนุน
หน้า 12 คณะทำงาน หน้า 16
The end