การบริหารการคลังภาครัฐ “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

เข้าสู่เว็บไซต์ ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement : e-GP) ระยะที่ 2 เข้าสู่เว็บไซต์
มารู้จัก e-GP กันเถอะ.
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
การคลังและนโยบาย การคลัง
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ฝ่ายนโยบายและแผน งานงบประมาณ ฝ่ายการคลัง ภาควิชา หน่วยงาน
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การบริหารงานงบประมาณ
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารการคลังภาครัฐ “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ”
การเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 4 มิ.ย. 2556
1 รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 29 ม.ค สำนักการคลังและสินทรัพย์
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ขั้นตอนการดําเนินงานของกองคลังที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานอื่น
นโยบายการคลัง.
การขอให้จัดหาครุภัณฑ์ / จัดจ้าง
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
หน่วยงานอื่นของรัฐหรือหน่วยงานอื่นใดที่ดำเนินกิจการของรัฐตาม กฎหมาย และได้รับเงินอุดหนุน หรือเงิน หรือทรัพย์สินลงทุนจากรัฐ กระทรวง ทบวง.
การประชุมเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประชุมชี้แจง การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และ การขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน
เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชีของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ
โครงการฝึกอบรม ผ่าน Web Online สำนักงานคลังจังหวัดสงขลา
รายงานสถานภาพงบประมาณ
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
เงินรายได้สถานศึกษา หมายความว่า บรรดารายได้ที่เกิดจาก
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
สำนักงานคลังจังหวัดอุทัยธานี
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2554
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
1 การบริหารจัดการ เงินงบประมาณ และเงิน SP 2. 2 งบประมาณปี 2553 รายการจำนวนเงิน ( ล้าน บาท ) % งบบุคลากร 167, งบดำเนินงาน 8, งบลงทุน.
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
การบรรยายเรื่อง เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินฝาก และ การรายงานแบบ 102
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
มติ ครม. เมื่อวันที่ 30 ธ.ค. 57 และ เมื่อวันที่ 18 ก.พ.58
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารการคลังภาครัฐ “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ” หลักสูตร “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ” ระดับชำนาญการ วันที่ 14 สิงหาคม 2555

หัวข้อการบรรยาย ความหมายของการคลังภาครัฐ การบริหารการคลังภาครัฐ การบริหารการคลังของส่วนราชการ 3.1 ระบบงบประมาณ 3.2 ระบบการเงิน 3.3 ระบบจัดซื้อ/จัดจ้าง 3.4 ระบบบัญชี

1.ความหมายของการคลังภาครัฐ วิธีการศึกษากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ 7 เรื่องใหญ่ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศในด้านความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ คือ รายได้แผ่นดิน รายจ่ายของภาครัฐ สินทรัพย์แผ่นดิน หนี้สินสาธารณะ เงินคงคลัง นโยบายการคลัง งบประมาณแผ่นดิน

รายได้แผ่นดิน เงินที่รัฐบาลได้มาและสามารถนำไปใช้ ในการบริหารราชการโดยไม่มีข้อผูกพันจะต้องชำระคืน แบ่งเป็น 2 ประเภท ภาษีอากร > บังคับเก็บจากผู้มีเงินได้ (ภาษีทางตรง/ภาษีทางอ้อม) ไม่ใช่ภาษีอากร > เรียกเก็บจากผู้ได้รับ ผลประโยชน์หรือบริการที่รัฐจัดให้ (การขายสิ่งของ/บริการ รัฐพาณิชย์ อื่น ๆ) รายได้เงินนอกงบประมาณ

รายได้แผ่นดิน รายได้จัดเก็บ (Gross Revenue) รายได้สุทธิ (Net Revenue) = รายได้จัดเก็บ - การคืนภาษีของกรมสรรพากร - การกันเงิน เพื่อชดเชยสินค้าส่งออก - การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่ม ให้ อปท. (ตาม พ.ร.บ. อบจ. และ พ.ร.บ. กำหนดแผนฯ) รายได้นำส่งคลัง รายได้ภาครัฐ = รายได้รัฐบาล + รายได้ อปท. รายได้ภาคสาธารณะ = รายได้รัฐบาล + รายได้ อปท. +รายได้รัฐวิสาหกิจ

โครงสร้างรายได้รัฐบาลไทย สัดส่วน 2536 2554 50 68 21 18 17 5 6 4 6 5 รายได้ ภาษี กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร ไม่ใช่ภาษี รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการอื่น

รายจ่ายของรัฐ เงินที่รัฐบาลนำออกใช้จ่าย ในการบริหารราชการแผ่นดิน แบ่งเป็น 3 ประเภท รายจ่ายประจำ รายจ่ายลงทุน รายจ่ายชำระหนี้เงินกู้ รายจ่ายเงินนอกงบประมาณ

โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายและผลกระทบต่อเศรษฐกิจ รายจ่ายประจำ (70 - 85%) รายจ่ายลงทุน (12 - 25%) รายจ่ายชำระคืนต้นเงินกู้ (3 - 5%) การบริโภค การลงทุน งบรายจ่าย สัดส่วนต่อ งบประมาณ สัดส่วนเฉลี่ยต่อ (ร้อยละ) งบบุคลากร 24 - 27 26.3 งบดำเนินงาน 9 - 11 10.1 งบลงทุน 8 - 11 10.6 งบเงินอุดหนุน 24 - 26 25.6 งบรายจ่ายอื่น 27 - 29 27.8 เงินโอน

วงเงินงบประมาณรายจ่าย งบประมาณประจำปีงบประมาณ 2555 และ 2556 งบประมาณปี 2555 แบบขาดดุล งบประมาณปี 2556 แบบขาดดุล วงเงินงบประมาณ รายจ่าย 2,380,000 ลบ. ประมาณการ รายได้ 1,980,000 ลบ. วงเงินงบประมาณรายจ่าย 2,400,000 ลบ. ประมาณการ รายได้ 2,100,000 ลบ. กู้ชดเชยการขาดดุล 400,000 ลบ. กู้ชดเชยการขาดดุล 300,000 ลบ. 9 สำนักงบประมาณ 9

สินทรัพย์แผ่นดิน อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์แผ่นดิน (ที่ราชพัสดุ) แบ่งเป็น 2 ประเภท ที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง

หนี้สาธารณะ หนี้ที่กระทรวงการคลังกู้ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจกู้ หรือหนี้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน แต่ไม่รวมถึงหนี้ที่รัฐวิสาหกิจ ทำธุรกิจให้กู้ยืมเงิน โดยกระทรวงการคลังมิได้ค้ำประกัน แหล่งเงินกู้ แบ่งเป็น 2 ประเภท หนี้ในประเทศ (ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ เสริมสภาพคล่อง) หนี้ต่างประเทศ (พัฒนาประเทศ จัดซื้อยุทโธปกรณ์)

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25 อธิบายเพิ่มเติม กรอบความยั่งยืนทางการคลังไม่ได้มีการกำหนดเป็นกฎหมาย กระทรวงการคลังได้กำหนดไว้ เพื่อเป็นแนวทางในการควบคุมการบริหารการคลังของประเทศในด้านรายได้ รายจ่ายและ หนี้สาธารณะ

ยอดหนี้สาธารณะคงค้างของประเทศไทย (ณ 30 เมษายน 2555) หน่วย : ล้านบาท   ณ 30 ก.ย. 53 ณ 30 ก.ย. 54 ณ 30 เม.ย. 55 เปรียบเทียบปีงบประมาณ 2554 1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกู้ตรง 2,907,482.31 3,181,158.89 3,412,700.63 231,541.74 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ 1,261,162.00 1,236,690.53 1,194,845.39 -41,845.14 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น 0.00 7,080.00 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ 62,100.43 30,445.18 -30,445.18 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) 4,230,744.74 4,448,294.60 4,614,626.02 166,331.42 6. หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) 41.88 42.27 42.40

นโยบายการคลัง นโยบายที่เกี่ยวกับการใช้จ่ายและรายได้ของรัฐ เป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดแนวทาง เป้าหมายและการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ นโยบายการคลัง เช่น - นโยบายภาษีอากร - นโยบายด้านรายจ่าย - นโยบายการก่อหนี้และบริหารหนี้สาธารณะ - นโยบายการบริหารเงินคงคลัง เป็นต้น

งบประมาณแผ่นดิน งบประมาณแผ่นดิน หมายถึง แผนเกี่ยวกับการใช้จ่าย ของรัฐบาลและการจัดหารายได้ให้เพียงพอกับการใช้จ่ายในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติมีระยะเวลา 1 ปี เริ่มตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคมของปีไปจนถึงวันที่ 30 กันยายนของปีถัดไป ซึ่งการจัดทำงบประมาณแผ่นดินจะเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะช่วยให้รัฐบาลสามารถบริหารการคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เงินคงคลัง บัญชีเงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทย เงินที่รัฐบาลมีไว้เพื่อการบริหารราชการแผ่นดิน แบ่งเป็น 3 ประเภท บัญชีเงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทย (บัญชีเงินคงคลังบัญชีที่ 1 และ 2) เงินสด ณ กรมธนารักษ์ อื่น ๆ > บัญชีเงินฝากธนาคารพาณิชย์

ระบบข้อมูลเพื่อการบริหารเงินคงคลัง รายงาน รายวัน ผู้บริหารระดับสูง กรมบัญชีกลาง รายงาน รายสัปดาห์ ผู้บริหารระดับสูง กระทรวงการคลัง ฝ่ายประจำ ฝ่ายการเมือง รายงาน รายเดือน รายงาน รายไตรมาส หน่วยงานกลาง ที่เกี่ยวข้อง รายงาน เฉพาะกิจ รายงาน สิ้นปี ระบบข้อมูลเพื่อการบริหารเงินคงคลัง TR GFMIS

2. การบริหารการคลังภาครัฐ

เศรษฐกิจและการคลัง

เศรษฐกิจและการคลัง ผลการดำเนินงาน ฐานะการคลัง

สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายการคลัง “ต้องกำหนดและดำเนินนโยบายการคลังให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ” นโยบายการคลัง เป้าหมาย วิธีการ หดตัว ลดความต้องการใช้จ่ายภายในประเทศ ทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เพื่อชะลอความร้อนแรงของเศรษฐกิจ - จัดทำงบประมาณ รายจ่ายแบบเกินดุล จัดเก็บภาษีมากขึ้น ขยายตัว เพิ่มความต้องการ ใช้จ่ายภายในประเทศ เพื่อทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น จัดทำงบประมาณ รายจ่ายแบบขาดดุล - ลดภาษี

สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การกำหนดนโยบายทางการคลัง การจัดทำงบประมาณ “ต้องกำหนดและดำเนินนโยบายการคลังให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ” สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การกำหนดนโยบายทางการคลัง การจัดทำงบประมาณ เป้าหมาย หดตัว ขยายตัว (รายได้ < รายจ่าย) ขาดดุล ลดความต้องการใช้จ่ายภายในประเทศ ทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เพื่อชะลอความร้อนแรงของเศรษฐกิจ (รายได้ >รายจ่าย) เกินดุล เพิ่มความต้องการ ใช้จ่ายภายในประเทศ เพื่อทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น ปกติ (รายได้ = รายจ่าย) สมดุล -

นโยบายรัฐบาล แต่ละชุด

การคลังและการบริหารการคลัง ภาษี นโยบาย เศรษฐกิจมหภาคและ ระหว่างประเทศ การเงิน รายได้แผ่นดิน การออมการลงทุน ภาษี สินทรัพย์ของรัฐ เครื่องมือ เงินคงคลัง รายจ่ายภาครัฐ งบประมาณ กู้เงิน วิธีการงบประมาณ บริหารหนี้สาธารณะ สินทรัพย์แผ่นดิน การคลัง บริหาร การคลัง การดำเนินงาน บริหารเงินคงคลัง จัดเก็บรายได้ บริหารรัฐวิสาหกิจ/ หลักทรัพย์ บริหารที่ราชพัสดุ หนี้สาธารณะ สงป. บัญชีกลาง กรมภาษี หน่วยงาน สศค. สบน. เงินคงคลัง ธนารักษ์ สคร. การควบคุม และประเมินผล ฝ่ายบริหาร องค์กรอิสระ ฝ่ายนิติบัญญัติ ข้อมูลทางการคลัง

ต้องบริหารการคลังภายใต้กฎหมาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 พ.ร.บ. ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518 พ.ร.บ. การบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ม.83 นโยบายด้านเศรษฐกิจ ดำเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.84 รัฐต้องควบคุมให้มีการรักษาวินัยการเงินการคลัง เพื่อสนับสนุนเสถียรภาพและความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ ม.190 การทำข้อตกลง/สัญญา กับต่างประเทศที่กระทบต่อ งบประมาณการเงินการคลัง ต้องขออนุมัติรัฐสภา ม.166 การใช้เงินแผ่นดินตามปกติต้องทำเป็นงบประมาณ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี/พ.ร.บ. งบประมาณ รายจ่ายปีที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน ม.167 วรรคแรก การจัดทำร่าง พ.ร.บ. งบประมาณประจำปี ต้องมีเอกสารประกอบแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องทุกด้าน ครบถ้วน อดีต/ปัจจุบัน/ภาระอนาคต วรรคสอง งบกลางใน พ.ร.บ. งบประมาณประจำปี มีได้ในกรณีใด/เหตุผล วรรคสาม ให้มี กฎหมายการเงินการคลัง เป็นกรอบรักษาวินัยการเงินการคลัง ม.168 การพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี ของ สส. และ สว. มีกระบวนการอย่างไร วิเคราะห์/เงื่อนไข/ระยะเวลา ม.169 วรรคแรก การจ่ายเงินแผ่นดินทุกกรณี (ปกติ/ไม่ปกติ) ต้องมีกฎหมายรองรับ กรณีจ่ายจากเงินคงคลัง ต้องตั้งงบประมาณชดใช้ แบบมีแหล่งเงินหรือรายได้รองรับ วรรคสอง การโอนงบประมาณข้ามส่วนราชการทำได้ในกรณีสงคราม/ฉุกเฉิน วรรคสาม การโอนงบประมาณภายในส่วนราชการทำได้ แต่ต้องรายงานรัฐสภา ม.170 รายได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องส่งคลัง (เงินนอกงบประมาณ) ส่วนราชการเจ้าของต้องรายงานต่อคณะรัฐมนตรี และการใช้จ่ายเงินต้องอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังโดยอนุโลม

รายรับ พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 169 การจ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้ก็เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยวด้วยการโอนงบประมาณ หรือกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง เว้นแต่ในกรณีจำเป็นเร่งด่วน รัฐบาลจะจ่ายไปก่อนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีเช่นว่านี้ ต้องตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง ในพระราชบัญญัติโอนเงินงบประมาณรายจ่าย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณถัดไป ทั้งนี้ ให้กำหนดแหล่งที่มาของรายได้ เพื่อชดใช้รายจ่ายที่ได้ใช้เงินคงคลังจ่ายไปก่อนแล้วด้วย เงินแผ่นดิน /เงินคงคลัง

รายจ่าย พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502

พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 เงินกู้ พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548

กรอบวินัยการคลัง รายได้ เงินที่ได้รับไว้ต้องส่งเข้าคลังทั้งหมด รายจ่าย ต้องจ่ายเงินตามที่กฎหมายกำหนด การจ่ายเงินก่อนมีกฎหมายอนุญาต ต้องตั้งงบประมาณชดใช้จากรายได้ เงินกู้ ต้องกู้ตามวัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์ และวงเงินตามที่กฎหมายกำหนด เงินคงคลัง ต้องมีพอเหมาะ ต้องควบคุมดูแล และรักษาให้มั่นคงยั่งยืน

กฎหมายการเงินการคลัง กฎหมายรายฉบับที่เกี่ยวข้อง กรอบวินัยการคลัง รัฐธรรมนูญ กฎหมายการเงินการคลัง กฎหมายรายฉบับที่เกี่ยวข้อง

เครื่องมือและการดำเนินงานทางการคลัง ภาษี คือ การกำหนด การเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไข อัตราภาษีอากร และฐานภาษีอากร และรายได้อื่น ๆ รายจ่าย คือ การกำหนดวงเงินงบประมาณรายจ่าย การอนุมัติ จัดสรรงบประมาณรายจ่าย และการบริหาร การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ที่ราชพัสดุ คือ การบริหารสินทรัพย์ของรัฐให้เกิดประโยชน์ เงินคงคลัง คือ การบริหารเงินคงคลังให้มีจำนวนเหมาะสม และเพียงพอต่อการใช้จ่ายเงินของรัฐ รัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินของรัฐ คือ การนำไปพัฒนาและแก้ไขปัญหาของธุรกิจ สังคมและชุมชน หนี้สาธารณะ คือ การจัดหาและการบริหารเงินกู้เพื่อนำมาใช้ ในการลงทุนและดำเนินงานของรัฐ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการคลัง กระทรวงการคลัง กระทรวง กรม B A C K F R O N T ส่วนราชการ สรรพากร สรรพสามิต สศค. ศุลกากร บัญชีกลาง ธนารักษ์ สคร. บัญชีกลาง สบน. อื่นๆ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

การควบคุมและประเมินผลการคลัง ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน องค์กรนิติบัญญัติ ประชาชน ประชาชน องค์กรอิสระ รัฐบาล หน่วยงานกลาง กระทรวง กรม ประชาชน ประชาชน INTERNAL / EXTERNAL ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน

รายได้ รายจ่าย ระบบงบประมาณ การบริหารการคลังระดับรัฐบาล กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ทางการเงินการคลัง บริการทาง การเงินการคลัง การบริหารการคลังระดับส่วนราชการ ส่วนราชการ นำไปปฏิบัติ ส่วนราชการ เข้ามาใช้บริการ การรับ-จ่ายเงินของรัฐมีความถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใส เป็นประโยชน์ คุ้มค่า และตรวจสอบได้ WIN WIN

พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ 2502 บริหาร ควบคุม มาตรา 6 - 18 มาตรา 19 - 20 1. อำนาจหน้าที่ของสำนักงบประมาณ 2. ลักษณะงบประมาณ สมดุล/เกินดุล/ขาดดุล 3. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี 4. การตั้งรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 5. งบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน 6. งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม 10. การควบคุมงบประมาณ - หลักเกณฑ์การเบิกจ่าย/เก็บรักษา/นำเงินส่งคลัง - วางระบบบัญชีให้ส่วนราชการปฏิบัติ - ประมวลบัญชีแผ่นดิน - เงินทดรองราชการ - เงินประจำงวดและการก่อหนี้ผูกพัน งบประมาณรายจ่าย - หลักเกณฑ์การนำเงินส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน และข้อยกเว้น - อำนาจในการกู้เงิน - งบประมาณรายจ่ายข้ามปี และการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี - เงินทุนสำรองจ่ายฉุกเฉิน - รายงานการเงินแผ่นดิน - บทกำหนดโทษ จัดทำ บริหาร มาตรา 6 - 18 ควบคุม สำนักงบประมาณ ส่วนราชการ กระทรวงการคลัง มาตรา 21 - 30 มาตรา 19 - 20 7. การโอนงบประมาณข้ามส่วนราชการ 8. การโอน/เปลี่ยนแปลงเงินงบประมาณ 9. การใช้จ่ายเงินงบประมาณ งบส่วนราชการ / งบกลาง

กระบวนการงบประมาณ 1. นโยบายรัฐบาล เป้าหมายทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ประเทศ (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) 8. ติดตามผลและประเมินผล 2. ยุทธศาสตร์กระทรวง / จังหวัด แผนกลยุทธ์หน่วยงาน โครงการ /ผลผลิต / ตัวชี้วัด (แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติราชการประจำปี ) 7. การดำเนินงาน 3. กรอบวงเงินงบประมาณ รายจ่ายระยะปานกลาง วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี (แผนงบประมาณ) 6. ควบคุมและเบิกจ่ายงบประมาณ และรับเงินรายได้เข้าคลัง 4. พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี (เกินดุล / สมดุล / ขาดดุล) 5. บริหารงบประมาณ (ข้อตกลงการปฏิบัติราชการ) ประมาณการรายได้ - จัดเก็บรายได้ - นำเงินรายได้ส่งคลัง

ภาพรวมระบบการเงิน

การรับเงินและนำเงินส่งคลัง GFMIS - กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ระเบียบการเก็บรักษาเงิน และการนำส่งเงินของส่วนราชการ ม. 24 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ นำเงินรายได้แผ่นดิน ส่งคลัง - ส่วนราชการนำเงินฝาก บัญชีเงินฝากกรมบัญชีกลาง หรือ สนง.คลังที่ KTB - กรมบัญชีกลาง/สนง.คลัง ตรวจสอบ/กระทบยอด การนำเงินส่งคลัง เงินคงคลัง บัญชีที่ 1 ส่วนราชการ - จัดเก็บเงินจากประชาชน ตามที่กฎหมายให้อำนาจ - เก็บรักษาเงินที่จัดเก็บได้ ในลักษณะเงินสด (เช็ค) หรือเงินฝากธนาคาร (ถ้ามี) รอไว้ เพื่อนำส่งคลังตาม วงเงินและระยะเวลา ที่กำหนด เงินรายได้แผ่นดิน (ภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และรายได้อื่น ๆ) เงินนอกงบประมาณ นำเงินนอกงบประมาณ ฝากคลัง บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ ส่วนราชการ นอกงบประมาณ นำเงินนอกงบประมาณ ฝากเข้าบัญชีเงินฝาก ธนาคารพาณิชย์ของตนเอง (ได้รับอนุญาต)

การเบิกจ่ายเงินจากคลัง GFMIS GFMIS พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี กฎหมายและระเบียบการคลัง ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง บัญชีงบประมาณของส่วนราชการที่กระทรวงการคลัง วงเงิน (บาท) แผนงาน งาน/โครงการ xxxxxx งบบุคลากร xxxx งบดำเนินงาน xxxx งบลงทุน xxxx งบเงินอุดหนุน xxxx งบรายจ่ายอื่น xxxx หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงิน ผู้มีสิทธิ การได้ / เกิดสิทธิ การรับรองสิทธิ การอนุมัติ อัตรา / จำนวนเงิน (ภาคบังคับตามกฎหมาย และระเบียบการคลัง ได้รับอนุมัติกระทรวงการคลัง หรือดุลยพินิจของหัวหน้า ส่วนราชการ) หลักเกณฑ์การเบิกเงิน กับกระทรวงการคลัง ส่วนราชการบันทึกข้อมูล ขอเบิกเงิน กรมบัญชีกลาง/สนง. คลังจังหวัด - ตรวจสอบรายการ ขอเบิกถูกต้อง ตามกฎหมาย/ระเบียบ หรือมีคำรับรองของ ผู้เบิก - วงเงินงบประมาณ เพียงพอ - อนุมัติ - สั่งจ่ายเงินคงคลัง - โอนเงินเข้าบัญชี เงินฝากธนาคาร เงินคงคลัง บัญชีที่ 2 บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ ส่วนราชการ ในงบประมาณ บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ เจ้าหนี้ การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ บัญชีงบประมาณงบกลาง (กรมบัญชีกลางดูแล) บำเหน็จบำนาญ xxxx เงินช่วยเหลือ xxxx เงินสวัสดิการ xxxx อื่น ๆ xxxx จ่ายเงินจากบัญชี เงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ - อนุมัติการจ่าย - จ่ายเงิน - ตรวจสอบ - ทำ/ส่งงบเดือน พร้อมหลักฐาน การจ่ายให้ สตง. เจ้าหนี้ ผู้มีสิทธิ บัญชีงบประมาณงบกลาง (สำนักงบประมาณดูแล) เงินสำรองจ่ายฉุกเฉิน xxxx อื่น ๆ xxxx เงินนอกงบประมาณใช้แนวทางเดียวกันโดยอนุโลม

นำเงินนอกงบประมาณฝากคลัง การเก็บรักษาเงิน ธปท./ธนาคารพาณิชย์ เงินคงคลังที่ ธปท. บัญชีที่ 1 บัญชีที่ 2 (เงินคงคลัง ณ สนง.คลังจังหวัด บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับการจ่ายเงิน งบประมาณ บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับจัดเก็บ และนำส่งเงินรายได้ แผ่นดิน (ถ้ามี) เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ นำส่งเงิน รายได้แผ่นดิน ประชาชน บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับการจ่ายเงิน นอกงบประมาณ เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ เงินสด/ เช็ค ประชาชน นำเงินนอกงบประมาณฝากคลัง บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับรับ-เก็บรักษา และนำฝากคลัง เงินสด/ เช็ค เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ

การจัดซื้อจัดจ้าง e-Government procurement ส่วนราชการ (ผู้ซื้อ) GFMIS กรมบัญชีกลาง บุคคลภายนอก (ผู้ขาย) ระเบียบพัสดุ - ทั่วไป - electronic 1 - แผนการจัดซื้อจัดจ้าง - อนุมัติให้ดำเนินการ 2 - เตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง - แต่งตั้งกรรมการ e-Auction e-Shopping e-Bidding e-Market ปฏิบัติตาม ในส่วนที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการซื้อ/จ้าง ได้ตัวผู้ขาย/ผู้รับจ้าง (ไม่อยู่ใน Black list) 3 5 e-Government procurement บันทึกสัญญา/ใบสั่งซื้อ เข้าระบบ - ทำสัญญา/ใบสั่งซื้อ ผู้มีอำนาจลงนาม ในสัญญา/ใบสั่งซื้อ - ส่งเอกสารให้ผู้ขาย 6 4 รับสัญญา/ใบสั่งซื้อ 7 ส่งของ/งาน และแจ้งหนี้ 8 9 ตรวจรับพัสดุ/งาน บันทึกการตรวจรับเข้าระบบ 10 ขอเบิกเงินจากคลัง 12 รับการชำระเงินโดยวิธีการ โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝาก ธนาคาร 11 จ่ายเงินให้ผู้ขาย

e-Government Procurement สินค้าและบริการภาครัฐ ระบบประกาศ จัดซื้อจัดจ้าง ระบบจัดการเนื้อหา ราคากลางก่อสร้าง ระบบจัดการเนื้อหา ตามกฎหมายระเบียบ เกี่ยวกับพัสดุ กรมบัญชีกลาง (ผู้ดูแลระบบ) ระบบลงทะเบียนสำหรับ หน่วยงานจัดซื้อภาครัฐ ระบบจัดการเนื้อหา ข่าวและกิจกรรม ระบบการเปิดเผยข้อมูล การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ส่วนราชการ (ผู้ใช้งาน) ระบบลงทะเบียนสำหรับ ผู้สนใจทั่วไป ระบบจัดการบัญชี รายชื่อผู้ทิ้งงาน EGP e-Government Procurement ระบบจัดการรหัส สินค้าและบริการภาครัฐ GPSC ระบบ Helpdesk ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง (คู่สัญญา) ระบบจัดทำ เอกสารประมูล ระบบบริหาร ทะเบียนผู้ค้าภาครัฐ ระบบ e-Auction ระบบแจกจ่าย เอกสารประมูล ผู้สนใจทั่วไป ระบบประมูลด้วย e-Auction ระบบลงทะเบียน ผู้ค้าภาครัฐ ระบบจัดเกรด ผู้ค้าภาครัฐ ระบบรับและ เปิดซองข้อเสนอ ระบบพิจารณา ข้อเสนอการประมูล

การทำบัญชีการเงิน GFMIS บันทึกรายการบัญชี ประจำวัน ปิดบัญชี - ดำเนินการให้ถูกต้องครบถ้วน ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และคำสั่งที่เกี่ยวข้อง - ผู้จัดทำ ผู้ตรวจสอบ ผู้อนุมัติ ลงลายมือชื่อในหลักฐาน GFMIS เอกสาร/หลักฐาน ทางการเงินและบัญชี *สมุดบันทึกรายการขั้นต้น *ทะเบียน *บัญชีแยกประเภท บันทึกรายการบัญชี ประจำวัน รายงานการเงิน ประจำวัน ปิดบัญชี สิ้นเดือน/ปี งบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้ค่าใช้จ่าย งบกระแสเงินสด

กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) เงินทุน/กองทุน นอกงบประมาณ หน่วยงานภาครัฐ ลักษณะพิเศษ ส่วนราชการ ระดับกรม องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอิสระ ตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชน หน่วยงานอิสระอื่น ของรัฐ กองทุนเงินนอก งบประมาณ ส่วนราชการ ภูมิภาค เงินทุน/กองทุน นอกงบประมาณ หน่วยงานย่อย

(Functional Cost Center) (Functional Cost Center) การทำบัญชีต้นทุน ค่าใช้จ่ายจาก ระบบบัญชี เกณฑ์คงค้าง 3 Cost Allocation หน่วยงานสนับสนุน (Support Cost Center) ค่าใช้จ่าย ทางตรง (Direct Cost) กิจกรรมย่อย 4 Cost Allocation กิจกรรมย่อย กิจกรรมหลัก Cost Allocation 2 ผลผลิต 1 กิจกรรมย่อย หน่วยงานหลัก (Functional Cost Center) กิจกรรมย่อย กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม (Indirect Cost) กิจกรรมย่อย ผลผลิต 2 หน่วยงานหลัก (Functional Cost Center) กิจกรรมย่อย กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย Cost Allocation 1

นโยบายของรัฐบาล e-Government Electronic (e-Service) ส่วนราชการ การให้บริการประชาชน ตามภารกิจ ของส่วนราชการ แต่ละแห่ง การบริหารการเงิน - งบประมาณ - จัดซื้อ/จัดจ้าง - การเงิน (รับ-จ่ายเงิน) - การบัญชี และรายงานการเงิน งานหลัก Front Office งานสนับสนุน Back Office Electronic (e-Service) GFMIS

เป้าหมายสำคัญของโครงการ GFMIS National System Single Entry Online Real-time Matrix Report

FI CO (1) AFMIS ระบบงาน GFMIS MIS PO FM HR (ระบบสารสนเทศ) SAP R/3 (GFMIS) (3) FI ระบบการเงินและบัญชี ประกอบด้วย AP = ระบบเบิกจ่าย RP = ระบบรับและนำส่งเงิน CM = ระบบบริหารเงินสด FA = ระบบสินทรัพย์ถาวร GL = ระบบบัญชีแยกประเภท (2) PO ระบบจัดซื้อจัดจ้าง (1) (4) CO ระบบต้นทุน FM ระบบบริหารงบประมาณ (5) HR ระบบทรัพยากรบุคคล สงป. BIS e-Payroll e-Pension e-Medical กรมบัญชีกลาง กพ. DPIS e-GP AFMIS กรมบัญชีกลาง

บุคคลที่เกี่ยวข้องภายนอก เช่น เจ้าหนี้ ธนาคาร และอื่น ๆ เป็นต้น Audit Around GFMIS ส่วนราชการ (ผู้เบิก) Card User ID Password ผู้อนุมัติ ผู้ตรวจสอบ ผู้บันทึกข้อมูล ดำเนินการ ตามระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง - ระเบียบเดิม - ระเบียบใหม่ บันทึกข้อมูล เข้าสู่ระบบ GFMIS Terminal Excel Loader การดำเนินงาน ต่อเนื่องในระบบ GFMIS โดย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - สั่ง Post บัญชี - Run Payment - อื่น ๆ การประมวลผล ข้อมูลเดือน และออก รายงานต่าง ๆ ตามระบบ GFMIS Report หลักฐานเกี่ยวกับ Master Data Slip รายงานต่าง ๆ จากระบบ GFMIS หลักฐานจาก ระบบ GFMIS หลักฐานจาก ระบบ GFMIS หลักฐานเกี่ยวกับ Transactions หลักฐาน ตามระเบียบ สำหรับหน่วยงานกลาง ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ เชื่อมโยงการตรวจสอบในแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน รวมทั้งยืนยันข้อมูลกับหน่วยงาน/ บุคคลที่เกี่ยวข้องภายนอก เช่น เจ้าหนี้ ธนาคาร และอื่น ๆ เป็นต้น

สรุป การบริหารการคลัง สำหรับส่วนราชการ

2 1 3 สรุปการบริหารการคลังในส่วนที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการ รัฐบาล กรอบวงเงิน เงินในงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ 2 กฎหมาย/ระเบียบ เกี่ยวกับงบประมาณ และการคลัง เงินคงคลัง เงินฝากคลัง/ ธนาคาร ของส่วนราชการ 1 3 ผลผลิต/ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์กรม ยุทธศาสตร์กระทรวง ยุทธศาสตร์รัฐบาล 1. วินัยการคลัง 2. ความคุ้มค่า 3. ประโยชน์ของประชาชน

ดุลยภาพการบริหารการคลัง ส่วนราชการ หน่วยงานกลาง วินัยการคลัง ความคุ้มค่า ประโยชน์ของประชาชน External Control

External Control Internal Control รายได้ รายจ่าย การบริหารการคลังระดับรัฐบาล External Control กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ทางการเงินการคลัง บริการ ทางการเงินการคลัง การบริหารการคลังระดับส่วนราชการ Internal Control ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ ส่วนราชการเข้ามาใช้บริการ การรับ - จ่ายเงินของรัฐมีความถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใส เป็นประโยชน์ คุ้มค่า และตรวจสอบได้

ทางด้านการเงินและบัญชี ระบบการกำกับดูแลและควบคุมตนเองที่ดี Internal Control การบริหารความเสี่ยง ของส่วนราชการ ระบบควบคุมภายใน ทางด้านการเงินและบัญชี ของส่วนราชการ การตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ ระบบการกำกับดูแลและควบคุมตนเองที่ดี

ความรับผิดทางแพ่ง ความเสียหายเกิดจาก การทำงานด้านการเงิน การชดใช้ ความเสียหายเกิดจาก การทำงานด้านการเงิน และที่มิใช่การเงิน ของส่วนราชการ ส่วนราช การ เงินสด / เทียบเท่าเงินสด ทรัพย์สินของทางราชการ สูญหาย เสียหาย ตั้งคณะกรรมการสอบสวน หาตัวผู้รับผิดชอบ ออกคำสั่ง และเรียกให้ผู้กระทำความผิดชำระเงิน/ทรัพย์สิน ผลการสอบสวน และมูลค่าความเสียหาย กระ ทรวงการคลัง สำนวน ความรับผิดทางแพ่ง วินิจฉัยเบื้องต้น คณะกรรมการ ความรับผิดทางแพ่ง ผลการพิจารณา

กรอบกฎหมายและระเบียบการคลัง เอกสาร / หลักฐานทางการเงิน G F M I S กรอบกฎหมายและระเบียบการคลัง (External Control) ความ รับผิด ทาง แพ่ง กรอบการกำกับดูแล และควบคุมตนเอง (Internal Control) เอกสาร / หลักฐานทางการเงิน บันทึกบัญชี รายงานการเงิน

ส่วนราชการ G F M I S เข้าใจ ใส่ใจ ระมัดระวัง ปลอดภัย หมั่นตรวจสอบ ผู้บริหารของส่วนราชการ เข้าใจ ใส่ใจ G F M I S กรอบกฎหมายและระเบียบการคลัง (External Control) ความ รับผิด ทาง แพ่ง ระมัดระวัง หมั่นตรวจสอบ กรอบการกำกับดูแล และควบคุมตนเอง (Internal Control) ปลอดภัย เอกสาร / หลักฐานทางการเงิน บันทึกบัญชี รายงานการเงิน

ขอบคุณค่ะ