สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การบริหารงานงบประมาณ
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
กลุ่มที่ 1.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552 กลุ่ม 7

แบบฟอร์มนำเสนอ

เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ 1.ระบบเตือนภัยและพยากรณ์น้ำล่วงหน้า จ.ชุมพร 2.โครงการอาสาสมัครชลประทาน ความสูญเสียที่ลดลง อันเนื่องจากภัยอันเกิดจากน้ำ ผู้ใช้น้ำได้รับความพึงพอใจจากการบริหารน้ำ มีการติดตั้งระบบโทรมาตรและเตือนภัย จากน้ำ ผู้บริหารให้การสนับสนุน ประชาชนมีผู้ประสานตลอด 24 ชม. อาสาสมัครชลประทานมีค่าตอบแทน อาสาสมัครชลประทานเป็นเกษตรกรไม่ ใช้เจ้าหน้าที่ของรัฐ การบริหารกลุ่มมีอิสระ

เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ 3.โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า สชป.7 มีปริมาณน้ำเก็บกักและพื้นที่ ชลประทานเพิ่มขึ้น ใช้ประบวนการมีส่วนร่วม ทำให้ผู้เกี่ยวข้องเห็นประโยชน์โดยตรง และมีรายได้เพิ่มขึ้น มีการสนับสนุนข้อมูลวิชาการเป็นที่ปรึกษาของ อบต. ทุกด้าน มีการชี้แจงปัญหาและแนวทางแก้ไข เกษตรกรเห็นตัวอย่างจากโครงการเดิม

สิ่งที่ควรพัฒนาต่อยอดความสำเร็จ เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ สิ่งที่ควรพัฒนาต่อยอดความสำเร็จ เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1.ระบบเตือนภัยและพยากรณ์น้ำล่วงหน้า จ.ชุมพร 2.โครงการอาสาสมัครชลประทาน นำข้อมูลจากระบบโทรมาตรทุกลุ่มน้ำ ไปทำแผนที่น้ำท่วม (Flood Map) อพยพ กรณีน้ำหลาก ส่งเสริมให้มีความเข้มแข็ง (1 คน/2,500 ไร่ ครอบคลุม 12 ล้านไร่) หาอาสาสมัครชลประทานให้ครอบคลุม (ปี 52 มี 75 คน ปี 53 มี 925 คน) ควรมีทุกตำบล (7,000 ตำบล) ทำทุกแห่งที่อยู่ในความดูแล อย่างน้อย 1 คน ควรมีอาสาสมัครชลประทานนอกเขตชลประทาน ในการพัฒนาแหล่งน้ำ

สิ่งที่ควรพัฒนาต่อยอดความสำเร็จ เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ สิ่งที่ควรพัฒนาต่อยอดความสำเร็จ เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3.โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า สชป.7 พัฒนาบุคลากรให้มีความเข้าใจให้มากขึ้น ควรได้รับการสนับสนุนงบประมาณให้มากขึ้น (คุ้มค่าการลงทุน เพิ่มพื้นที่ชลประทาน ราษฎรมีรายได้ พัฒนาเกษตรยั่งยืน สนับสนุนการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ชลประทาน

ที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์กรม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์กรม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ แนวทางการแก้ไข โครงการแก้ไขการบุกรุกทางน้ำชลประทาน ไม่มีใครเป็นโจทก์ กฎหมายบังคับได้แต่ไม่มีใครดำเนินคดี ปล่อยละเลยเป็นเวลานาน ไม่ต้องการมีเรื่องกับเกษตรกร ฝสบ. ในพื้นที่ ตัดสินใจไม่ถูกที่ดำเนินการอย่างไร บ้างครั้งต้องการความร่วมมือ แต่บางครั้งต้องฟ้องเมื่อมีการบุกรุก เพิ่มสมรรถนะเจ้าหน้าที่ จ้างหน่วยงานภายนอกมาฟ้องร้อง ให้รางวัลผู้ฟ้อง ตั้งตำรวจชลประทาน ให้เช่า ปักกันหลักเขตให้ชัดเจน พื้นที่ไม่ใช้ประโยชน์ ส่งคืนกรมธนารักษ์

ที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์กรม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์กรม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ แนวทางการแก้ไข 2. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเบิกจ่ายงบประมาณ มีรายงานและขั้นตอนมากเกินไป รายงานซ้ำซ้อน มีแบบฟอร์มมากและข้อมูลเดิม ลดการรายงานโดยดู Real time จาก GFMIS มาใช้ในการเร่งรัดการเบิกจ่าย ทำ Indicator (เขียว – แดง) โดยดึงข้อมูลจาก GFMIS ติดตามประเมินผลอย่างใกล้ชิด

ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 กลุ่ม 7 ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 1. แผนงานป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำ จัดหาเครื่องจักรกลหนักให้กับโครงการ 1 ชุด มีงบสำรองฉุกเฉิน เพื่อแก้ไขปัญหาอันเกิดจากน้ำ มอบอำนาจการบริหารในสภาวะฉุกเฉินให้ชัดเจน 2. การจัดทำ work flow มาตรฐานและลดขั้นตอนทุกกระบวนงาน 3. เน้น Team work 4. ทบทวน MTEF ให้สอดคล้องกับความเป็นจริง 5. เพิ่มสมรรถนะและประสิทธิภาพเจ้าหน้าที่

ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 กลุ่ม 7 ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 6. กำหนด KPI รายตำแหน่ง 7. ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ ร่วมสรุปบทเรียนทุก 3 เดือน มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับกรมฯ ลงสู่สำนัก/กอง และระดับบุคคล 8. พัฒนาระบบควบคุมภายในและแผนบริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 9. เพิ่มความเข้มข้นในกระบวนการมีส่วนร่วมก่อนก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง

สวัสดี