สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552 กลุ่ม 7
แบบฟอร์มนำเสนอ
เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ 1.ระบบเตือนภัยและพยากรณ์น้ำล่วงหน้า จ.ชุมพร 2.โครงการอาสาสมัครชลประทาน ความสูญเสียที่ลดลง อันเนื่องจากภัยอันเกิดจากน้ำ ผู้ใช้น้ำได้รับความพึงพอใจจากการบริหารน้ำ มีการติดตั้งระบบโทรมาตรและเตือนภัย จากน้ำ ผู้บริหารให้การสนับสนุน ประชาชนมีผู้ประสานตลอด 24 ชม. อาสาสมัครชลประทานมีค่าตอบแทน อาสาสมัครชลประทานเป็นเกษตรกรไม่ ใช้เจ้าหน้าที่ของรัฐ การบริหารกลุ่มมีอิสระ
เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ 3.โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า สชป.7 มีปริมาณน้ำเก็บกักและพื้นที่ ชลประทานเพิ่มขึ้น ใช้ประบวนการมีส่วนร่วม ทำให้ผู้เกี่ยวข้องเห็นประโยชน์โดยตรง และมีรายได้เพิ่มขึ้น มีการสนับสนุนข้อมูลวิชาการเป็นที่ปรึกษาของ อบต. ทุกด้าน มีการชี้แจงปัญหาและแนวทางแก้ไข เกษตรกรเห็นตัวอย่างจากโครงการเดิม
สิ่งที่ควรพัฒนาต่อยอดความสำเร็จ เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ สิ่งที่ควรพัฒนาต่อยอดความสำเร็จ เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1.ระบบเตือนภัยและพยากรณ์น้ำล่วงหน้า จ.ชุมพร 2.โครงการอาสาสมัครชลประทาน นำข้อมูลจากระบบโทรมาตรทุกลุ่มน้ำ ไปทำแผนที่น้ำท่วม (Flood Map) อพยพ กรณีน้ำหลาก ส่งเสริมให้มีความเข้มแข็ง (1 คน/2,500 ไร่ ครอบคลุม 12 ล้านไร่) หาอาสาสมัครชลประทานให้ครอบคลุม (ปี 52 มี 75 คน ปี 53 มี 925 คน) ควรมีทุกตำบล (7,000 ตำบล) ทำทุกแห่งที่อยู่ในความดูแล อย่างน้อย 1 คน ควรมีอาสาสมัครชลประทานนอกเขตชลประทาน ในการพัฒนาแหล่งน้ำ
สิ่งที่ควรพัฒนาต่อยอดความสำเร็จ เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ สิ่งที่ควรพัฒนาต่อยอดความสำเร็จ เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3.โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า สชป.7 พัฒนาบุคลากรให้มีความเข้าใจให้มากขึ้น ควรได้รับการสนับสนุนงบประมาณให้มากขึ้น (คุ้มค่าการลงทุน เพิ่มพื้นที่ชลประทาน ราษฎรมีรายได้ พัฒนาเกษตรยั่งยืน สนับสนุนการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ชลประทาน
ที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์กรม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์กรม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ แนวทางการแก้ไข โครงการแก้ไขการบุกรุกทางน้ำชลประทาน ไม่มีใครเป็นโจทก์ กฎหมายบังคับได้แต่ไม่มีใครดำเนินคดี ปล่อยละเลยเป็นเวลานาน ไม่ต้องการมีเรื่องกับเกษตรกร ฝสบ. ในพื้นที่ ตัดสินใจไม่ถูกที่ดำเนินการอย่างไร บ้างครั้งต้องการความร่วมมือ แต่บางครั้งต้องฟ้องเมื่อมีการบุกรุก เพิ่มสมรรถนะเจ้าหน้าที่ จ้างหน่วยงานภายนอกมาฟ้องร้อง ให้รางวัลผู้ฟ้อง ตั้งตำรวจชลประทาน ให้เช่า ปักกันหลักเขตให้ชัดเจน พื้นที่ไม่ใช้ประโยชน์ ส่งคืนกรมธนารักษ์
ที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์กรม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ กลุ่มที่ 7 แผนงาน/โครงการ ที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์กรม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ แนวทางการแก้ไข 2. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเบิกจ่ายงบประมาณ มีรายงานและขั้นตอนมากเกินไป รายงานซ้ำซ้อน มีแบบฟอร์มมากและข้อมูลเดิม ลดการรายงานโดยดู Real time จาก GFMIS มาใช้ในการเร่งรัดการเบิกจ่าย ทำ Indicator (เขียว – แดง) โดยดึงข้อมูลจาก GFMIS ติดตามประเมินผลอย่างใกล้ชิด
ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 กลุ่ม 7 ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 1. แผนงานป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำ จัดหาเครื่องจักรกลหนักให้กับโครงการ 1 ชุด มีงบสำรองฉุกเฉิน เพื่อแก้ไขปัญหาอันเกิดจากน้ำ มอบอำนาจการบริหารในสภาวะฉุกเฉินให้ชัดเจน 2. การจัดทำ work flow มาตรฐานและลดขั้นตอนทุกกระบวนงาน 3. เน้น Team work 4. ทบทวน MTEF ให้สอดคล้องกับความเป็นจริง 5. เพิ่มสมรรถนะและประสิทธิภาพเจ้าหน้าที่
ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 กลุ่ม 7 ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 6. กำหนด KPI รายตำแหน่ง 7. ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ ร่วมสรุปบทเรียนทุก 3 เดือน มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับกรมฯ ลงสู่สำนัก/กอง และระดับบุคคล 8. พัฒนาระบบควบคุมภายในและแผนบริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 9. เพิ่มความเข้มข้นในกระบวนการมีส่วนร่วมก่อนก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง
สวัสดี