มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

พื้นที่จุดอ่อนน้ำท่วมและการแก้ปัญหา
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
Chapter 4 Well logging methods and interpretation
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ขั้นตอนการออกแบบทาง.
แผ่นดินไหว.
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
น้ำและมหาสมุทร.
การศึกษาและพัฒนาอาคารวัดปริมาณน้ำ ที่มีระดับต่างคงที่ (CHO)
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
สถานการณ์น้ำในเขื่อน กฟผ.
โครงสร้างสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
โครงการชลประทานหนองคาย
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตำแหน่งติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำที่เหมาะสม
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14.
การประชุมผู้บริหารสำนักชลประทานที่ 10
การเสนอผลงาน RID INNOVATION 2011
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
....มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โครงการกิ่วคอหมา
ยินดีต้อนรับ ท่านอธิบดีกรมชลประทาน พร้อมคณะ
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออก ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
โครงการเครื่องวัดระดับ ความสูงคลื่น
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย.
การวิเคราะห์ทางด้านอุทกวิทยา
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
3. ข้อมูลแหล่งน้ำที่พัฒนา
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
ราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและ ความละเอียดของข้อมูล ต้องใช้พลังงานจากเรือยนต์
รายละเอียดข้อมูลเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ
โครงการอ่างเก็บน้ำธารประเวศ อ.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี
เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ดินถล่ม.
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านชลประทาน
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : วิกฤตการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2561 งบประมาณ ล้านบาท
Natural Resources Benjavun Ratanasthien Department of Geological Sciences, Faculty of Sciences, Chiang Mai University.
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2560 งบประมาณ 600 ล้านบาท
โครงการฝายยางลำเซบาย ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ โดย นาย กิจจา ตรีเนตร ผู้อำนวยการส่วนวิศวกรรมธรณี

เขื่อนภูมิพล

เขื่อนสิริกิติ์

เขื่อนแม่สรวย

เขื่อนใต้ดิน 1. ความหมายของเขื่อนใต้ดิน 2. ส่วนประกอบ - กำแพงทึบน้ำ - กำแพงทึบน้ำ - แหล่งกักเก็บน้ำ - ระบบจ่ายน้ำ 3. ประวัติความเป็นมาของเขื่อนใต้ดิน 4. ชนิดของเขื่อนใต้ดิน

5. ประเภทของเขื่อนใต้ดิน - เขื่อนกักเก็บน้ำใต้ดิน - เขื่อนควบคุมการไหลของน้ำใต้ดิน - เขื่อนกันน้ำเค็มใต้ดิน - เขื่อนเก็บกักน้ำในถ้ำ 6. เงื่อนไขการก่อสร้างเขื่อนใต้ดิน - อุทกธรณี - อุทกวิทยา - วิศวกรรมพื้นฐาน 7. ประโยชน์ของเขื่อนใต้ดิน 8. ข้อดีข้อเสียของเขื่อนใต้ดิน

การสำรวจเพื่อสร้างเขื่อนใต้ดิน 1. เบื้องต้น 2. ความเป็นไปได้ 3. การจัดทำโครงการนำร่อง - ขยายโครงการ 4. การทบทวนแผนการสำรวจ 5. การสำรวจเพื่อศึกษารายละเอียด - การสำรวจบนผิวดิน - การสำรวจใต้ดิน 6. การสำรวจเพื่อออกแบบและก่อสร้าง อุทกธรณี ธรณีฟิสิกส์ เจาะสำรวจ

ความหมายของเขื่อนใต้ดิน

เขื่อนเก็บกักน้ำใต้ดิน โพรงหินปูน พื้นที่ริมทะเล เขื่อนเก็บกักน้ำใต้ดิน

เขื่อนใต้ดินเพื่อกักเก็บน้ำใต้ดินที่ไหลมารวมกัน

เขื่อนใต้ดินในญี่ปุ่น

เขื่อนใต้ดินในบราซิล

ศูนย์บริการเทคโนโลยีน้ำบาดาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เขื่อนใต้ดินเพื่อกักเก็บน้ำ

เขื่อนควบคุมการไหลของน้ำใต้ดิน

เขื่อนใต้ดินบริเวณริมทะเล (เพื่อกันการแทรกซึมของน้ำทะเล)

แบบจำลองการกักน้ำในถ้ำและสูบน้ำขึ้นมาเพื่อใช้ในการเกษตร

เขื่อนใต้ดินในโพรงหินปูน

รูปถ่ายแสดงฝายที่ก่อสร้างในถ้ำ

เขื่อนบนดิน / เขื่อนใต้ดิน ทิศทางการไหลของน้ำ / ทิศทางการไหลของน้ำใต้ดิน ตำแหน่งที่ตั้งเขื่อน (สภาพธรณีวิทยาที่เหมาะสม) การปรับปรุงฐานราก (สภาพธรณีวิทยาใต้พื้นผิว) / กำแพงกั้นน้ำ สภาพอุทกธรณีวิทยาที่เหมาะสม

ประโยชน์ของเขื่อนใต้ดิน 1. เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำใต้ดินที่จะนำมาใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น 2. ช่วยให้มีน้ำใต้ดินใช้ได้ตลอดปี 3. ป้องกันน้ำใต้ดินไหลลงสู่ทะเลโดยเปล่าประโยชน์ (ในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเล) 4. รักษาระดับน้ำใต้ดินให้สูงขึ้น 5. ช่วยให้สูบน้ำใต้ดินมาใช้ได้ง่ายขึ้น 6. ช่วยให้การจัดการเกี่ยวกับน้ำใต้ดินดีขึ้น 7. ช่วยในการควบคุมคุณภาพน้ำใต้ดิน 8. ป้องกันการรุกล้ำของน้ำทะเลเข้าสู่ชั้นน้ำใต้ดิน

ปริมาณน้ำฝนที่จะซึมลงไปกักเก็บอยู่ใต้ดิน

Finite Element Mesh (hypothetical cross-section) Fractured Media Flow

การสำรวจโดยการวัดคลื่นไหวสะเทือน

ตัวอย่างรูปภาพตัดขวางที่ได้จากการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน (Seismic Cross Section)

ตัวอย่างรูปภาพตัดขวางที่ได้จากการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน (Seismic Cross Section) หลังจากแปลความหมาย

การสำรวจโดยการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า

เขื่อนใต้ดินของกรมชลประทาน โครงการห้วยลึก จังหวัด เชียงใหม่ โครงการเขื่อนใต้ดินภูเก็ต จังหวัด ภูเก็ต โครงการเขื่อนใต้ดินช่องสามหมอ จังหวัด ชัยภูมิ

แหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต

แนวกำแพงทึบน้ำบางเทา กะทู้ สามกอง ฉลอง และ กะตะ

ประสิทธิภาพการจ่ายน้ำ ปริมาณน้ำที่เติมลงใน (Groundwater Recharge) แอ่งน้ำใต้ดิน น้ำใต้ดินส่วนเกิน ประสิทธิภาพการจ่ายน้ำ ปริมาณน้ำที่เติมลงใน (Groundwater Spill) (Reservoir Yield) ชั้นน้ำใต้ดิน (ล้าน ลบ.ม./ปี) (Groundwater Recharge)   บางเทา 5.124 (36.3 %) 9.113 (64.6 %) 14.105 กะทู้ 5.314 (73.2 %) 1.971 (27.2 %) 7.258 สามกอง 0.858 (35.7 %) 1.563 (65.2 %) 2.399 ฉลอง 1.905 (60.4 %) 1.265 (40.1 %) 3.152 กะตะ 0.589 (73.6 %) 0.214 (26.8 %) 0.800 สรุปปริมาณน้ำใต้ดิน

เขื่อนใต้ดินช่องสามหมอ อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ

รูปที่ 1.1 แผนที่แสดงขอบเขตลุ่มน้ำภาคเหนือ

ช่องสามหมอ

Thank you