มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ โดย นาย กิจจา ตรีเนตร ผู้อำนวยการส่วนวิศวกรรมธรณี
เขื่อนภูมิพล
เขื่อนสิริกิติ์
เขื่อนแม่สรวย
เขื่อนใต้ดิน 1. ความหมายของเขื่อนใต้ดิน 2. ส่วนประกอบ - กำแพงทึบน้ำ - กำแพงทึบน้ำ - แหล่งกักเก็บน้ำ - ระบบจ่ายน้ำ 3. ประวัติความเป็นมาของเขื่อนใต้ดิน 4. ชนิดของเขื่อนใต้ดิน
5. ประเภทของเขื่อนใต้ดิน - เขื่อนกักเก็บน้ำใต้ดิน - เขื่อนควบคุมการไหลของน้ำใต้ดิน - เขื่อนกันน้ำเค็มใต้ดิน - เขื่อนเก็บกักน้ำในถ้ำ 6. เงื่อนไขการก่อสร้างเขื่อนใต้ดิน - อุทกธรณี - อุทกวิทยา - วิศวกรรมพื้นฐาน 7. ประโยชน์ของเขื่อนใต้ดิน 8. ข้อดีข้อเสียของเขื่อนใต้ดิน
การสำรวจเพื่อสร้างเขื่อนใต้ดิน 1. เบื้องต้น 2. ความเป็นไปได้ 3. การจัดทำโครงการนำร่อง - ขยายโครงการ 4. การทบทวนแผนการสำรวจ 5. การสำรวจเพื่อศึกษารายละเอียด - การสำรวจบนผิวดิน - การสำรวจใต้ดิน 6. การสำรวจเพื่อออกแบบและก่อสร้าง อุทกธรณี ธรณีฟิสิกส์ เจาะสำรวจ
ความหมายของเขื่อนใต้ดิน
เขื่อนเก็บกักน้ำใต้ดิน โพรงหินปูน พื้นที่ริมทะเล เขื่อนเก็บกักน้ำใต้ดิน
เขื่อนใต้ดินเพื่อกักเก็บน้ำใต้ดินที่ไหลมารวมกัน
เขื่อนใต้ดินในญี่ปุ่น
เขื่อนใต้ดินในบราซิล
ศูนย์บริการเทคโนโลยีน้ำบาดาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เขื่อนใต้ดินเพื่อกักเก็บน้ำ
เขื่อนควบคุมการไหลของน้ำใต้ดิน
เขื่อนใต้ดินบริเวณริมทะเล (เพื่อกันการแทรกซึมของน้ำทะเล)
แบบจำลองการกักน้ำในถ้ำและสูบน้ำขึ้นมาเพื่อใช้ในการเกษตร
เขื่อนใต้ดินในโพรงหินปูน
รูปถ่ายแสดงฝายที่ก่อสร้างในถ้ำ
เขื่อนบนดิน / เขื่อนใต้ดิน ทิศทางการไหลของน้ำ / ทิศทางการไหลของน้ำใต้ดิน ตำแหน่งที่ตั้งเขื่อน (สภาพธรณีวิทยาที่เหมาะสม) การปรับปรุงฐานราก (สภาพธรณีวิทยาใต้พื้นผิว) / กำแพงกั้นน้ำ สภาพอุทกธรณีวิทยาที่เหมาะสม
ประโยชน์ของเขื่อนใต้ดิน 1. เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำใต้ดินที่จะนำมาใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น 2. ช่วยให้มีน้ำใต้ดินใช้ได้ตลอดปี 3. ป้องกันน้ำใต้ดินไหลลงสู่ทะเลโดยเปล่าประโยชน์ (ในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเล) 4. รักษาระดับน้ำใต้ดินให้สูงขึ้น 5. ช่วยให้สูบน้ำใต้ดินมาใช้ได้ง่ายขึ้น 6. ช่วยให้การจัดการเกี่ยวกับน้ำใต้ดินดีขึ้น 7. ช่วยในการควบคุมคุณภาพน้ำใต้ดิน 8. ป้องกันการรุกล้ำของน้ำทะเลเข้าสู่ชั้นน้ำใต้ดิน
ปริมาณน้ำฝนที่จะซึมลงไปกักเก็บอยู่ใต้ดิน
Finite Element Mesh (hypothetical cross-section) Fractured Media Flow
การสำรวจโดยการวัดคลื่นไหวสะเทือน
ตัวอย่างรูปภาพตัดขวางที่ได้จากการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน (Seismic Cross Section)
ตัวอย่างรูปภาพตัดขวางที่ได้จากการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน (Seismic Cross Section) หลังจากแปลความหมาย
การสำรวจโดยการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า
เขื่อนใต้ดินของกรมชลประทาน โครงการห้วยลึก จังหวัด เชียงใหม่ โครงการเขื่อนใต้ดินภูเก็ต จังหวัด ภูเก็ต โครงการเขื่อนใต้ดินช่องสามหมอ จังหวัด ชัยภูมิ
แหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต
แนวกำแพงทึบน้ำบางเทา กะทู้ สามกอง ฉลอง และ กะตะ
ประสิทธิภาพการจ่ายน้ำ ปริมาณน้ำที่เติมลงใน (Groundwater Recharge) แอ่งน้ำใต้ดิน น้ำใต้ดินส่วนเกิน ประสิทธิภาพการจ่ายน้ำ ปริมาณน้ำที่เติมลงใน (Groundwater Spill) (Reservoir Yield) ชั้นน้ำใต้ดิน (ล้าน ลบ.ม./ปี) (Groundwater Recharge) บางเทา 5.124 (36.3 %) 9.113 (64.6 %) 14.105 กะทู้ 5.314 (73.2 %) 1.971 (27.2 %) 7.258 สามกอง 0.858 (35.7 %) 1.563 (65.2 %) 2.399 ฉลอง 1.905 (60.4 %) 1.265 (40.1 %) 3.152 กะตะ 0.589 (73.6 %) 0.214 (26.8 %) 0.800 สรุปปริมาณน้ำใต้ดิน
เขื่อนใต้ดินช่องสามหมอ อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ
รูปที่ 1.1 แผนที่แสดงขอบเขตลุ่มน้ำภาคเหนือ
ช่องสามหมอ
Thank you