ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิสัยทัศน์ชมรมวิสัญญีพยาบาล แห่งประเทศไทย ปีพ.ศ
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
KM = Knowledge Management
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
พิธีเปิด การจัดกิจกรรม KM DAY ของ อล. ทร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การจัดการความรู้ สชป.11 ประจำปีงบประมาณ 2555.
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Participation : Road to Success
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
การประชุมทีมงานเครือข่าย การจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่การเป็นหน่วยงาน การจัดการความรู้ดีเด่น (How to be KM Best Practice) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่หน่วยงานการจัดการความรู้ดีเด่น ความสอดคล้องระหว่างวิสัยทัศน์การจัดการความรู้ของกรมฯและของศูนย์ฯ ผู้นำองค์กร แผนการจัดการความรู้ ทีมงานการจัดการความรู้ เครื่องมือการจัดการความรู้ เกณฑ์การตรวจประเมินการจัดการความรู้ (KMA)

ความสอดคล้องระหว่างวิสัยทัศน์การจัดการความรู้ของกรมชลประทาน และศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

วิสัยทัศน์การจัดการความรู้กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการความรู้สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ 1. พัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้ด้านการจัดการ ความรู้ สร้างบรรยากาศและ วัฒนธรรมที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ 2. บูรณาการกระบวนการจัดการความรู้ให้ สอดคล้องกับการทำงาน 3. พัฒนาองค์ความรู้และการสร้างนวัตกรรม สนับสนุนภารกิจกรมชลประทาน 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ ฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ 5. พัฒนาเครือข่ายการจัดการความรู้ วัฒนธรรมการจัดการความรู้ 1. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. คิดริเริ่มสร้างสรรค์

วิสัยทัศน์ด้านการจัดการความรู้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้บริหารการจัดการความรู้สูงสุด (CKO) “ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่สำคัญที่จะสนับสนุนการพัฒนาคน โดยจะนำไปสู่การพัฒนางาน และองค์กรในลำดับต่อไป แต่เนื่องจากเป็นองค์ความรู้ ที่มีการเปลี่ยนแปลงเร็วมากจึงต้องศึกษาค้นคว้า ติดตาม รวบรวม และจัดการอย่าง รวดเร็วและต่อเนื่อง รวมทั้งการเผยแพร่ให้ผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับเทคโนโลยีสามารถ เข้าถึงและใช้องค์ความรู้”

(Chief Knowledge Officer) ผู้นำองค์กร (Chief Knowledge Officer)

ผู้นำองค์กร (Chief Knowledge Officer) เป็นแบบอย่างที่ดี กำหนดวิสัยทัศน์เป้าหมายและแนวนโยบายการจัดการความรู้ชัดเจน เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีวิสัยทัศน์และยอมรับการเปลี่ยนแปลง สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ สนับสนุนและสร้างแรงจูงใจ

แผนการจัดการความรู้ (Km Plan)

แผนการดำเนินการจัดการความรู้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใช้แผนการจัดการความรู้ระดับกรม เป็นต้นแบบของการจัดทำแผนการ จัดการความรู้ของศูนย์ฯ ประกอบด้วย การจำแนกองค์ความรู้เพื่อ ตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ ๓ ด้าน และมีกระบวนการจัดการ ความรู้ ๗ กระบวนการ และ กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ๖ กระบวนการ

องค์ความรู้ในแผนการจัดการความรู้ของศูนย์ฯในแต่ละปีนั้น ได้มาจากผลการ ประเมินความพึงพอใจจากผู้รับบริการ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดระดับกรม โดยพิจารณาจาก ความพึงพอใจในระดับ น้อย ปานกลางและน้อยที่สุด นำมาจัดการความรู้และจัด กิจกรรมโดยใช้เครื่องมือ KM อย่างเหมาะสม

ทีมงานการจัดการความรู้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ITC Km Team)

องค์ประกอบทีมงานการจัดการความรู้ Km Teamwork เป็นผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังแผนและแนวทางการ จัดการความรู้ระดับกรม เสนอ CKO เพื่อทราบนโยบายและแนวทางในการ จัดการความรู้ประจำปี ร่างแผนกิจกรรมการจัดการความรู้ตามแนวทางที่ CKO ให้ความเห็นชอบ จัดประชุมทีมงานการจัดการความรู้เพื่อระดม ความคิดและปรับเปลี่ยนแผนและกิจกรรมตามความ เหมาะสม ถ่ายทอด/ประชาสัมพันธ์แผนการจัดการความรู้

บุคลากร/เจ้าหน้าที่ คณะทำงานการจัดการความรู้ ครอบคลุมทุกภารกิจ และทุกส่วนฝ่ายของสำนัก/กอง เป็นนักคิด นักพัฒนา นักปฏิบัติ มีความร่วมแรงร่วมใจ มีจิตอาสา กล้าแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความยืดหยุ่น ผ่อนปรน สามารถประสานงานกับผู้อื่นได้ดี บุคลากร/เจ้าหน้าที่ เห็นความสำคัญของการนำความรู้มาใช้ช่วยปฏิบัติงานให้สำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ

เครื่องมือการจัดการความรู้ ( Km Tool)

เครื่องมือการจัดการความรู้ คลังความรู้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นวัตกรรม

ช่องทางเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย

กิจกรรม ITC Day 2012

เกณฑ์การตรวจประเมินการจัดการความรู้ (KMA)

เกณฑ์การตรวจประเมินการจัดการความรู้ ทำความเข้าใจความหมายและวัตถุประสงค์และแนวทางการตอบของเกณฑ์ ทุกหมวด มีหลักฐานประกอบในแต่ละหมวด เชื่อมโยงกิจกรรมการจัดการความรู้กับเกณฑ์ KMA

แนวคิด การจัดการความรู้ เป็นการใช้เครื่องมือทาง KM เพื่อช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของงานให้ดีขึ้น ดังนั้น การทำ KM จึงไม่ใช่ภาระ งานอีกภาระหนึ่ง