ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่การเป็นหน่วยงาน การจัดการความรู้ดีเด่น (How to be KM Best Practice) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่หน่วยงานการจัดการความรู้ดีเด่น ความสอดคล้องระหว่างวิสัยทัศน์การจัดการความรู้ของกรมฯและของศูนย์ฯ ผู้นำองค์กร แผนการจัดการความรู้ ทีมงานการจัดการความรู้ เครื่องมือการจัดการความรู้ เกณฑ์การตรวจประเมินการจัดการความรู้ (KMA)
ความสอดคล้องระหว่างวิสัยทัศน์การจัดการความรู้ของกรมชลประทาน และศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการความรู้สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ 1. พัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้ด้านการจัดการ ความรู้ สร้างบรรยากาศและ วัฒนธรรมที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ 2. บูรณาการกระบวนการจัดการความรู้ให้ สอดคล้องกับการทำงาน 3. พัฒนาองค์ความรู้และการสร้างนวัตกรรม สนับสนุนภารกิจกรมชลประทาน 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ ฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ 5. พัฒนาเครือข่ายการจัดการความรู้ วัฒนธรรมการจัดการความรู้ 1. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. คิดริเริ่มสร้างสรรค์
วิสัยทัศน์ด้านการจัดการความรู้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้บริหารการจัดการความรู้สูงสุด (CKO) “ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่สำคัญที่จะสนับสนุนการพัฒนาคน โดยจะนำไปสู่การพัฒนางาน และองค์กรในลำดับต่อไป แต่เนื่องจากเป็นองค์ความรู้ ที่มีการเปลี่ยนแปลงเร็วมากจึงต้องศึกษาค้นคว้า ติดตาม รวบรวม และจัดการอย่าง รวดเร็วและต่อเนื่อง รวมทั้งการเผยแพร่ให้ผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับเทคโนโลยีสามารถ เข้าถึงและใช้องค์ความรู้”
(Chief Knowledge Officer) ผู้นำองค์กร (Chief Knowledge Officer)
ผู้นำองค์กร (Chief Knowledge Officer) เป็นแบบอย่างที่ดี กำหนดวิสัยทัศน์เป้าหมายและแนวนโยบายการจัดการความรู้ชัดเจน เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีวิสัยทัศน์และยอมรับการเปลี่ยนแปลง สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ สนับสนุนและสร้างแรงจูงใจ
แผนการจัดการความรู้ (Km Plan)
แผนการดำเนินการจัดการความรู้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใช้แผนการจัดการความรู้ระดับกรม เป็นต้นแบบของการจัดทำแผนการ จัดการความรู้ของศูนย์ฯ ประกอบด้วย การจำแนกองค์ความรู้เพื่อ ตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ ๓ ด้าน และมีกระบวนการจัดการ ความรู้ ๗ กระบวนการ และ กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ๖ กระบวนการ
องค์ความรู้ในแผนการจัดการความรู้ของศูนย์ฯในแต่ละปีนั้น ได้มาจากผลการ ประเมินความพึงพอใจจากผู้รับบริการ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดระดับกรม โดยพิจารณาจาก ความพึงพอใจในระดับ น้อย ปานกลางและน้อยที่สุด นำมาจัดการความรู้และจัด กิจกรรมโดยใช้เครื่องมือ KM อย่างเหมาะสม
ทีมงานการจัดการความรู้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ITC Km Team)
องค์ประกอบทีมงานการจัดการความรู้ Km Teamwork เป็นผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังแผนและแนวทางการ จัดการความรู้ระดับกรม เสนอ CKO เพื่อทราบนโยบายและแนวทางในการ จัดการความรู้ประจำปี ร่างแผนกิจกรรมการจัดการความรู้ตามแนวทางที่ CKO ให้ความเห็นชอบ จัดประชุมทีมงานการจัดการความรู้เพื่อระดม ความคิดและปรับเปลี่ยนแผนและกิจกรรมตามความ เหมาะสม ถ่ายทอด/ประชาสัมพันธ์แผนการจัดการความรู้
บุคลากร/เจ้าหน้าที่ คณะทำงานการจัดการความรู้ ครอบคลุมทุกภารกิจ และทุกส่วนฝ่ายของสำนัก/กอง เป็นนักคิด นักพัฒนา นักปฏิบัติ มีความร่วมแรงร่วมใจ มีจิตอาสา กล้าแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความยืดหยุ่น ผ่อนปรน สามารถประสานงานกับผู้อื่นได้ดี บุคลากร/เจ้าหน้าที่ เห็นความสำคัญของการนำความรู้มาใช้ช่วยปฏิบัติงานให้สำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ
เครื่องมือการจัดการความรู้ ( Km Tool)
เครื่องมือการจัดการความรู้ คลังความรู้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นวัตกรรม
ช่องทางเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย
กิจกรรม ITC Day 2012
เกณฑ์การตรวจประเมินการจัดการความรู้ (KMA)
เกณฑ์การตรวจประเมินการจัดการความรู้ ทำความเข้าใจความหมายและวัตถุประสงค์และแนวทางการตอบของเกณฑ์ ทุกหมวด มีหลักฐานประกอบในแต่ละหมวด เชื่อมโยงกิจกรรมการจัดการความรู้กับเกณฑ์ KMA
แนวคิด การจัดการความรู้ เป็นการใช้เครื่องมือทาง KM เพื่อช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของงานให้ดีขึ้น ดังนั้น การทำ KM จึงไม่ใช่ภาระ งานอีกภาระหนึ่ง