คำรับรองการปฏิบัติราชการ เป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการ พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น ปรับบทบาท ภารกิจและขนาดให้เหมาะสม ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าเกณฑ์สากล ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบบประชาธิปไตย
กรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการ บริหารการเปลี่ยนแปลงองค์กร และการพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างความพร้อมในการ สนับสนุนแผนปฏิบัติราชการ มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ แสดงการให้ความสำคัญกับ ผู้รับบริการในการบริการที่มี คุณภาพสร้างความพึงพอใจ แก่ผู้รับบริการ มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ ปฏิบัติราชการ เช่น การลดรอบ ระยะเวลาการให้บริการ การบริหารงบประมาณ เป็นต้น มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ แสดงผลงานที่บรรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของ แผนปฏิบัติราชการตามที่ได้ รับงบประมาณมาดำเนินการ 20% 10% 50% 15% ประกอบด้วย 4 มิติ 1. ด้านประสิทธิผล 2. ด้านคุณภาพ 3. ด้านประสิทธิภาพ 4. ด้านพัฒนาองค์กร
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management) 3. Balanced Scorecard คืออะไร ความสมดุล : ช่วยให้มององค์กรจากทุกมุมอย่างครบถ้วน Balanced Scorecard รายงานสรุป : ช่วยให้ผู้บริหารติดตามความก้าวหน้า การเงิน ลูกค้า กระบวนการภายใน การเรียนรู้และเติบโต Balanced Scorecard
น้ำหนักการประเมินผลปีงบประมาณ47-49 ปีงบประมาณ 51/50/49/48/47 มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล ร้อยละ 45/50/50/60/70 มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ร้อยละ 20/15/10/10/12 มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพ ร้อยละ 10/10/10/10/6 มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร ร้อยละ 25/25/30/20/12
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการปี 2547-49 และ ปี 2550 มิติที่ ก.พ.ร. 26 ก.ย.48 19 ก.ย.49 22 มิ.ย.50 ประเมิน ตนเอง หมายเหตุ 2547 2548 2549 2550 1. ด้านประสิทธิผล 4.3076 4.2364 4.6094 4.5752 2. ด้านคุณภาพการให้บริการ 4.3154 4.1200 3.8760 3.6667 3. ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 4.8310 5.0000 4.8659 4.9775 4. ด้านการพัฒนาองค์กร 4.7333 4.7950 4.3714 4.6100 รวม 4.3910 4.4129 4.5035 4.4814
1.3 2.1 3.1 3.2 3.3 4 5 6 7.1 7.2 8 9 10.1 10.2 11 12 13.1 13.2 13.3 14 15.1 15.2 16
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯประจำปี 2551
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล (45%) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล (45%) ตัวชี้วัดที่ เป้าหมาย (2551) เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 1.4 ร้อยละของพื้นที่เกษตรกรรมที่ได้รับการ จัดการและฟื้นฟูทรัพยากรเพื่อการผลิต 2.1จำนวนที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่ชลประทาน ใหม่ที่นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง 3.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) 3.2 จำนวนพื้นที่บริหารจัดการน้ำในเขตชลประทาน 3.3 จำนวนที่เพิ่มขึ้นของแหล่งน้ำชุมชน/ชนบท 3.4 ร้อยละของมูลค่าความเสียหายของพืชเศรษฐกิจในเขตชลประทานจากอุทกภัยและภัยแล้ง 40.26 (ร้อยละ) 0.189 (ล้านไร่) 29.75 (ล้านไร่) 235 (แห่ง) 0.15 (ร้อยละ) 40.06 0.149 80 27.75 167 1.35 40.11 0.159 85 28.25 184 1.05 40.16 0.169 90 28.75 201 0.75 40.21 0.179 95 29.25 218 0.45 0.189 100 235 0.15
มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ(20%) มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ(20%) 4. ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม (6%) ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ (นำข้อมูลจากสรุปการดำเนินการไปกำหนดแนวทาง สำหรับปี 2552) 5. ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ (3%) 1.มีเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ 2.มีการปฏิบัติตามมติ ครม. วันที่ 28 ธันวาคม 2547 โดยสามารถตอบสนองได้ ภายในกำหนด ร้อยละ 100 6. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกัน (6%) และปราบปรามการทุจริต 7. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ (5%) (เป้าหมายร้อยละ 85)
มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ(10%) 8. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (3%) (เป้าหมายร้อยละ 80) 9. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน (3%) จะได้รับการประเมินเมื่อขั้นตอนที่ 1 และ 2 ได้คะแนนเต็ม 1.ข้อมูลปริมาณการใช้ครบถ้วน 2.ข้อมูลพื้นฐาน 10. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการรักษา (2%) มาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ 1.คัดเลือกกระบวนหลักที่สำคัญไม่น้อยกว่า 5 กระบวนงาน 2.ใช้เวลาเฉลี่ยทุกสาขา เป็นผลการดำเนินงาน (แบบฟอร์ม 2) 11. ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (2%) 1.ทบทวนภารกิจเพื่อจัดทำข้อมูลผลผลิตย่อย / กิจกรรมย่อย 2.จัดรับบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย / กิจกรรมย่อย
มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร (25%) 22% 12. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) 1.การประเมินองค์กร ไปพร้อมกับการปรับปรุงองค์กร 2.การผนวกตัวชี้วัดย่อยไว้หลายตัว 12.1 ระยะเวลาการส่งรายงานการประเมินตนเอง (31 ต.ค.51) 12.2 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ (6 ประเด็น) ความครบถ้วนในการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง 12.3 ผลคะแนนจากรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์ (7 หมวด) 13. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมาย 3%
เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ หมวดที่ ประเด็นที่มุ่งเน้น น้ำหนัก 1 2 3 4 5 6 7 การนำองค์กร การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ การบริหารความเสี่ยง การให้ความสำคัญกับลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสีย การวัด การวิเคราะห์ การจัดการความรู้ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ / การจัดการความรู้ การวางแผนทรัพยากรบุคคล การถ่ายทอดเป้าหมาย / การบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดการกระบวนการ ผลลัพธ์การดำเนินการ น้ำหนักรวม 15
ขอบคุณค่ะ