คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนบทความ.
Advertisements

บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Thesis รุ่น 1.
มองไม่เห็นก็เรียนได้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction)
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
รูปแบบ Story Board อย่างง่าย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชัน นางสาวอรชุมา บุญไกร โรงเรียนสิชลคุณาธาร วิทยา.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
TO DAY AGENDA วันนี้จะสอน อะไร 1. แผนการสอน เรื่อง ……………………………………… …………………………………… ชั่วโมง หน่วย ……………………. ………………… ชั้น …………. ภาคเรียน …… ความสำคัญ วัสดุ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
 วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่ง ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความ คาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะ ทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบ.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสร้างสื่อ e-Learning
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบการเรียนทางไกลแบบสองทางพร้อมสื่อประสมผ่านดาวเทียม เรื่อง Computer.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ 1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการ.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial

ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งมีการออกแบบบทเรียนโดยมีเป้าหมายที่จะนำเสนอเนื้อหาสาระความรู้ให้เหมือนการติววิชาเรียนวิชาใดวิชาหนึ่ง

โครงสร้างและการสืบไปในบทเรียน บทเรียนแบบติวเตอร์ เป็นการนำเสนอเนื้อหาที่เพิ่มเติมความรู้ให้ความสนุกกับบทเรียน ซึ่งอาจมีเกมมาประกอบบทเรียนเพื่อให้ผู้เรียนสนใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น

โครงสร้างบทเรียนช่วยสอนแบบติวเตอร์ การนำเข้าสู่บทเรียนช่วยสอน แบบทดสอบ Pretest/ prostest/games การให้ผลย้อนกลับ/รายงานผลการเรียน/สถิติ จบบทเรียนช่วยสอน/ออกจากโปรแกรม

การนำเข้าสู่บทเรียนช่วยสอน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน 1. การเร้าความสนใจ 2. บอกวัตถุประสงค์ของบทเรียน 3. การทบทวนความรู้เดิมหรือการให้ความรู้พื้นฐานของผู้เรียน

1. คำชี้แจงในการสืบไปในบทเรียนช่วยสอน เช่น การใช้เครื่องมือ ปุ่ม ไอคอน นอกจากนี้ การนำเข้าสู่บทเรียนช่วยสอน ยังอาจเป็นการชี้แนวทางการเรียนสำหรับผู้เรียนในลักษณะของคำชี้แจงในการใช้บทเรียน(Directions) มีด้วยกัน 2 ลักษณะ 1. คำชี้แจงในการสืบไปในบทเรียนช่วยสอน เช่น การใช้เครื่องมือ ปุ่ม ไอคอน 2. คำชี้แจงเกี่ยวกับวิธีการเรียน

การนำเข้าสู่บทเรียนช่วยสอน 1. การวิเคราะห์บทเรียนเพื่อให้สอดคล้องกับผู้เรียน 2. การศึกษาหาแนวคิดกรอบการเรียนรู้ของผู้เรียน 3. การวิเคราะห์หาหลักการในการเรียนรู้ของผู้เรียน (Principles of learning) 4. พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน

วิธีการและรูปแบบการนำเสนอ 1. ให้ผู้เรียนทดลอง 2. ให้ผู้เรียนค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง 3. การชี้นำแนวทางให้แก่ผู้เรียน

แบบทดสอบ Pretest / Protest 1. เป็นการทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียน 2. เป็นการตรวจสอบความเข้าใจในบทเรียนของผู้เรียน

การให้ผลย้อนกลับ/ การรายงานผล/สถิติ 1. ให้ผลย้อนกลับในการเรียนของผู้เรียนแบบคำอธิบาย (Constructive) 2. ให้ผลทางบวก ( Positive) เป็นการกระตุ้นผู้เรียน 3. มีคำเฉลย (Corrective) / ขึ้นอยู่กับแบบทดสอบที่ผู้สอนออกแบบบทเรียน

การให้ผลย้อนกลับ/ การรายงานผล/สถิติ 4. ให้จำนวนครั้งในการตอบของผู้เรียน 5. ในกรณีรายงานผล / สถิติ ควรอยู่หน้าเดียวกัน 6.พิจารณาการใช้เสียงในบทเรียนให้สอดคล้อง 7. หลีกเลี่ยงการให้ผลทางลบ

การบอกเป็นนัย (Hint) มี 3 รูปแบบ 1. คำสำคัญ (Keywords) 2. แสดงตัวอย่างคำถามและคำตอบที่คล้ายคลึง 3. ให้คำตอบบางส่วน

การจบบทเรียนช่วยสอน/การออกจากโปรแกรม 1. ส่วนนี้ควรมีคำถามในการยืนยันการออกจากโปรแกรม 2. ส่วนสรุปเพื่อให้ผู้เรียนยืนยันการกลับเข้าสู่บทเรียน / ออกจากบทเรียน 3. ส่วนที่ผู้เรียนตรวจสอบบทเรียนว่าเรียนครบหรือไม่