การจัดการงานวิจัย ในระบบสถาบันการศึกษา เพื่อพัฒนาพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ประเด็น คำถามและคำตอบ 1. จากสถานการณ์งบประมาณที่มีแนวโน้มว่าการ จัดสรรงบประมาณอาจลดลง มวล. ควรเร่งหารายได้เพิ่ม และมียุทธศาสตร์ใน.
Advertisements

การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โครงการนำร่อง EdPex คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
1 ยุทธศาสตร์การสนับสนุน การวิจัยของ สกว. ปี วุฒิพงศ์ เตชะดำรงสิน รองผู้อำนวยการ สกว. jscom/ ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
งานวิจัยแบบสหสาขาวิชาการ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
สถาบันคลังสมองของชาติ 26 กุมภาพันธ์ 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
Evaluation of Thailand Master Plan
การส่งเสริมการวิจัย และพัฒนา กระทรวงศึกษาธิการ. ขอบข่ายงานวิจัย ปัจจุบัน ประเภทของการวิจัย การวิจัยเพื่อการเรียนรู้ (LRRD) การวิจัยพื้นฐาน การวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยี
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ทำไมต้องมี การประชุมวันนี้ ?
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
บูรณาการเพื่อบ้านเรา ( พช.) วันพุธที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔ ณ WAR ROOM กรมการ พัฒนาชุมชน อาคาร บี ศูนย์ราชการเฉลิมพระ เกียรติฯ แจ้งวัฒนะ.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการงานวิจัย ในระบบสถาบันการศึกษา เพื่อพัฒนาพื้นที่ พัชริน  ดำรงกิตติกุล ผู้จัดการงานวิจัยสถาบันการศึกษาเพื่อพัฒนาพื้นที่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ระบบบริหารจัดการงานวิจัย ยุทธศาสตร์การวิจัย๕ด้าน ข้าว มันสัมปะหลัง ยางพารา โลจิสติกส์ ท่องเที่ยว การพัฒนาประเทศ คุณภาพบัณฑิต สถาบัน อุดมศึกษา ระบบบริหารจัดการงานวิจัย   ผลงานวิจัยที่ใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัดคุณภาพคือ คุณภาพ นักวิจัย ตีพิมพ์ในวารสาร  ความสัมพันธ์ข้ามชาติ เกษตร สวัสดิภาพสาธารณะ ชุมชนสังคม อุตสาหกรรม พัฒนาท้องถิ่น พัฒนาทั้งพื้นที่ สกว. สนับสนุนทุน คปก. (ป.เอก) วิจัยพื้นฐาน post-doc เมธีวิจัย วุฒิเมธีวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส ศาสตราจารย์ดีเด่น

การปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ (กย.53 – กย.54) Track 1: นโยบาย Track 3:วิชาการ Track 2:เศรษฐกิจ Track 4: สังคมและชุมชน มิติ 1: นโยบายและยุทธศาสตร์ มิติ 2: องค์กรสนับสนุนทุน มิติ 3: งบประมาณ มิติ 4: หน่วยทำวิจัย มิติ 5: บุคลากร มิติ 6: โครงสร้างพื้นฐาน มิติ 7: มาตรฐาน มิติ 8: การจัดการผลผลิต มิติ 9: การประเมิน

การแปลงความรู้เป็นนวัตกรรม การเรียนการสอนเพื่ออาชีพ Higher Education Drivers สังคม การแปลงความรู้เป็นนวัตกรรม (Applications) การเรียนการสอนเพื่ออาชีพ การเรียนการสอน การวิจัย การเรียนการสอนทางวิชาการ การวิจัยเชิงวิชาการ วิชาการ DR M.Wedgwood, Manchester Metropolitan University

1.บทบาทของมหาวิทยาลัยในการพัฒนาพื้นที่  ผลิตคน (Human Capital Development)  Technology Transfer  วิจัยและนวัตกรรม

2. บทบาทของพื้นที่ในการพัฒนามหาวิทยาลัย 2.1 บูรณาการ Employability and Entrepreneurship ในหลักสูตรร่วมกับมหาวิทยาลัย 2.2 พัฒนา Absorptive capacity ของ SME ในระบบเศรษฐกิจของพื้นที่ 2.3 สร้างเครือข่ายกระจายเทคโนโลยี (Knowledge transfer networks) ตาม needs ของ SME

ความรู้ที่เป็นวิชาการ ความรู้ใหม่ที่ใช้งานได้ การวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ : “สร้างความรู้ที่ผสมผสาน” ความรู้เดิม ในชุมชน ความรู้ที่เป็นวิชาการ ชาวบ้าน/ผปก./อบต. นักวิชาการ ปัญหา/ โจทย์ที่ต้องตอบ ความรู้ใหม่ที่ใช้งานได้ (Workable Knowledge)

“จัดการวิจัย”ให้ “คน” สร้าง “ผลงาน”สร้างอาชีพ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน ตำรา / ศาสตร์ นศ.เรียนรู้ด้วยการทำวิจัย สร้างคน การจัดการระบบวิจัย เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ความรู้ โจทย์วิจัย พัฒนาอาชีพ ทุนวิจัย กลไกเครือข่าย ที่เกี่ยวข้อง พัฒนาท้องถิ่น นักวิจัย จัดการวิจัย ผลงาน เครื่องมืออุปกรณ์ ติดตามสนับสนุนคุณภาพการวิจัย พี่เลี้ยง ผลงานวิชาการตีพิมพ์ในวารสาร

การจัดการงานวิจัยธุรกิจอาหารในท้องถิ่น ศึกษาสถาณการณ์ธุรกิจอาหารท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ โจทย์วิจัย ผลงานตีพิมพ์ การจัดการเรียนการสอนร่วมกับการวิจัยในสถาบันการศึกษา ติดตามเสนอแนะ ปรับหลักสูตรการสอน แผนธุรกิจอาหารท้องถิ่น นศ.มีประสบการณ์ทำธุรกิจในท้องถิ่น ยกระดับธุรกิจอาหารท้องถิ่น กลไก ภาคีในท้องถิ่น

The Links Between The University and Society “Students Learning With Communities” in Dublin Institute of Technology นำเสนอโดย Catherine Bates , Irland งานนี้ได้รับการสนับสนุนจาก Eu ปฏิบัติการในรูปแบบ Community-Based Learning (CBL) and Community-Based Research (CBR) มีวิธีการประเมินผลการเรียนรู้รูปแบบต่างๆที่น่าสนใจ และ Integrating CBL into the work placement modules

ประโยชน์ที่ได้รับ มีถึง ๓ ด้าน คือ ๑ ประโยชน์ที่ได้รับ มีถึง ๓ ด้าน คือ ๑. ผู้เรียน ได้เรียนรู้ทักษะในสถานการณ์จริง ทั้งจากสถานประกอบการ อุตสาหกรรม และชุมชน เป็นการสร้างทัศนคติ “การศึกษาเพื่อรับใช้สังคม” ๒. อาจารย์มหาวิทยาลัย ได้เรียนรู้สถานการณ์จริงจากสถานประกอบการ อุตสาหกรรมและชุมชน ๓. สถานประกอบการ อุตสาหกรรม และชุมชน เรียนรู้จากมหาวิทยาลัย คำถามคือ อาจารย์มหาวิทยาลัยจะได้รับผลตอบแทนอะไร

การจัดการวิจัยพัฒนาคนสู่อาชีพเพื่อการพึ่งตนเอง วิจัยในระดับ ป.ตรี ป.โท หน่วยจัดการงานวิจัยในพื้นที่ ประสบการณ์วิจัยพัฒนาในพื้นที่ งานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สกว.มีประสบการณ์ การบริหารจัดการวิจัย เครือข่ายวิจัยเศรษฐกิจฐานราก สกอ. โจทย์วิจัยที่ชัดเจน (มีศาสตร์ เงื่อนไข/บริบท) สถาบันการศึกษา สนับสนุนทุนวิจัยป.ตรี-โท ผ่านกระบวนการวิจัย สร้างคน สร้างความรู้ บริการวิชาการ ความร่วมมือกับอุดมศึกษาท้องถิ่น สร้างความรู้ นักวิจัยที่เชี่ยวชาญพื้นที่ คุณภาพงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ การตีพิมพ์ในวารสารวิจัย ร่าง-ความสำเร็จ ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด ระบบข้อมูลเพื่อการพัฒนาพื้นที่ สถาบันการศึกษามีหลักสูตรพัฒนาคนที่ตรงตามความต้องการของพื้นที่ นักวิจัยที่มีคุณภาพเพื่อพัฒนาพื้นที่ ผลงานวิจัยที่เผยแพร่สู่การตีพิมพ์ ความร่วมมือของกลไกท้องถิ่น ผู้จัดการงานวิจัย พี่เลี้ยง Mentor สร้างคนมีความรู้ในพื้นที่ ความสามารถคนท้องถิ่น ผลงานวิจัยพัฒนาพื้นที่ บริการวิชาการ สร้างอาชีพเพื่อการพึ่งตนเอง

นโยบาย หนึ่งจังหวัด หนึ่งมหาวิทยาลัย ทำอะไรบ้าง (น. พ. ประเวศ วะสี) ๑ นโยบาย หนึ่งจังหวัด หนึ่งมหาวิทยาลัย ทำอะไรบ้าง (น.พ.ประเวศ วะสี) ๑. สำรวจข้อมูลจังหวัด ๒. ส่งนักศึกษาอยู่กับชาวบ้านเพื่อเชื่อมต่อความรู้และเทคโนโลยีไปใช้ในชุมชนและกระตุ้นให้มหาวิทยาลัยสร้างองค์ความรู้ที่เหมาะสมกับมหาวิทยาลัย ๓. ร่วมทำแผนชุมชน ๔.วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม ๕. ส่งเสริมความเข้มแข็งขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ๖. สังเคราะห์ประเด็นนโยบายที่เกิดจากการปฏิบัติ ทำให้มหาวิทยาลัยเข้าใจนโยบายสาธารณะ ซึ่งมหาวิทยาลัยต้องมีบทบาทด้านโยบายสาธารณะ ๗. สื่อสารเพื่อพัฒนานโยบาย ๘. ศูนย์จัดการความรู้ในจังหวัด ทั้งจังหวัดจะกลายเป็นมหาวิทยาลัย การศึกษา ต้องแก้ปัญหาทุกเรื่อง โดยมีมหาวิทยาลัยเข้ามาเชื่อมโยง ๙.ประสานการปฏิรูปจังหวัด

การจัดการระบบวิจัยสถาบันการศึกษาเพื่อสร้างคนสู่อาชีพในพื้นที่ สกว. มีผู้บริหารจัดการงานวิจัยใน ๗ พื้นที่ คือ ภาคเหนือตอนบน รศ.ดร..อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัย  มช. ภาคเหนือตอนล่าง รศ.ดร.เสมอ ถาน้อย คณบดีคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ม.นเรศวร ภาคอีสานตอนบน ผศ.ดร.ชูพักตร์ สุทธิสา รองคณบดีคณะสังคมศาสตร์ฯ ม.มหาสารคาม ภาคอีสานตอนล่าง ผศ.ดร.อินทิรา ซาฮีร์ คณบดีคณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี ภาคกลางตะวันตก ผศ.ดร.โอภาส ปัญญา คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรฯ ม.มหิดล ศาลายา ภาคกลางตะวันออก ผศ.พีรชัย กุลชัย รองคณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร ม.เทคโนโลยีฯ ลาดกะบัง ภาคใต้ รศ.ดร.สุธีระ ประเสริสรรพ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มอ.