การบริหารทรัพยากรของกองทัพเรือ น.อ.เมธีชัย แก้วนิล รองผู้อำนวยการกองแผนและจัดทำงบประมาณ สปช.ทร.
หลักการบริหารทรัพยากร 1 Contents หลักการบริหารทรัพยากร 1 ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ 2 การจัดทำงบประมาณของ ทร. 3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรกองทัพเรือ 4
หลักการบริหารทรัพยากร resource management is the efficient and effective deployment for an organization's resources when they are needed. Such resources may include financial resources, inventory, human skills, production resources, or information technology (IT).
การปฏิรูประบบงบประมาณของไทยในอดีต การจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินรูปแบบกระทรวง ทบวง กรม ในปี พ.ศ. 2435 เริ่มมีการจัดทำงบประมาณแบบแสดงรายการ (Line-Item) ในปี พ.ศ. 2440 การจัดตั้งสำนักงบประมาณในปี พ.ศ. 2502 มีความพยายามในการประยุกต์ใช้ระบบงบประมาณแบบแสดงผลงาน (Performance Budget) แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ การประยุกต์ใช้ระบบงบประมาณแบบแสดงแผนงาน (PPBS) ในปี พ.ศ. 2527 ควบคู่ไปกับระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ การพยายามปรับปรุงระบบงบประมาณแบบมุ่งผลสำเร็จ (RBB) ระบบงบประมาณมุ่งเน้นผลงานตามแผนยุทธศาสตร์ (SPBB) ราวปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา
ข้อเท็จจริงเรื่องการบริหารภาครัฐกับ การปฏิรูประบบงบประมาณ การปฏิรูประบบราชการจะไม่ประสบผลสำเร็จหากมีการปรับปรุงเพียงโครงสร้างองค์การ การปฏิรูประบบราชการที่ประสบผลสำเร็จมักจะใช้การปฏิรูประบบงบประมาณเป็นตัวกำกับทิศทางการปฏิรูประบบราชการ เช่น ประเทศนิวซีแลนด์, แคนาดา, ออสเตรเลีย, อังกฤษ, อเมริกา ฯลฯ
จุดเน้น (ลักษณะ) ของระบบงบประมาณสมัยใหม่ MTEF, กรอบนโยบายการคลัง-การวิเคราะห์ประมาณการเศรษฐกิจ, กรอบนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน, กรอบแผนปฏิบัติราชการแผ่นดิน ฯลฯ มุ่งเน้นการรักษาวินัยทางการคลัง มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นการใช้จ่ายที่ตอบสนอง ต่อความต้องการของพลเมือง เทคนิควิเคราะห์งบประมาณสมัยใหม่, การวัดต้นทุนในการดำเนินงาน, การวัดผลสำเร็จของการใช้จ่ายงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณที่คำนึงถึงภารกิจพื้นฐานแห่งรัฐ และประเด็นยุทธศาสตร์ของรัฐบาล
ประเด็นสำคัญในการปฏิรูประบบงบประมาณในปัจจุบัน การกำหนดโครงสร้างผลผลิต (Output Structure) สำหรับการกำหนดแผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และการจัดสรรงบประมาณอย่างไร? จะมีโครงสร้างผลผลิตที่สะท้อนภารกิจหลักของรัฐ และภารกิจตามประเด็นยุทธศาสตร์อย่างไร? จะจัดสรรต้นทุน (Standardized cost) สำหรับผลผลิตประเภทต่างๆ อย่างไร? บทบาท-การประสานงานระหว่างสำนักงบประมาณ และกระทรวง-กรม ในกระบวนการปฏิรูประบบงบประมาณจะเป็นเช่นใด?
Environment Outcome SPBB Input Process Output วัตถุประสงค์ PPBS Line Item Input Process Output Performance Budget Monitoring Feedback Environment
ชาติ กรม กระทรวง 5 Outcome / Impact 3 Output 4 Outcome / Effect National Agenda ชาติ 5 Outcome / Impact Government Policy กระทรวง 4 Outcome / Effect กรม 3 Output 2 Process / Activities 1 Input
ชาติ กรม กระทรวง 5 Outcome / Impact 4 Outcome / Effect 3 Output เกณฑ์ การวัด ตัวชี้วัด ชาติ National Agenda 5 Outcome / Impact Government Policy Outcome Evaluation กระทรวง 4 Outcome / Effect ประสิทธิผล กรม 3 Output Output Evaluation 2 Process / Activities Process Evaluation ประสิทธิภาพ 1 Input
การจัดทำโครงสร้างผลผลิต (Output Structure) แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (นโยบายรัฐบาล แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐและแผนพัฒนาประเทศด้านต่างๆ) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ/ รัฐบาล พันธกิจของกระทรวง แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี เป้าหมายการให้บริการสาธารณะ (ระดับกระทรวง) พันธกิจของกรม (ภารกิจตามยุทธศาสตร์) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี เป้าหมายการให้บริการระดับหน่วยงาน ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต ภารกิจหน่วยงาน ภารกิจหน่วยงาน ภารกิจหน่วยงาน กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กระบวนการนำส่งผลผลิต งบประมาณ
กระบวนการจัดทำข้อตกลงการให้บริการสาธารณะ (PSA) 10 ขั้นตอน รัฐบาล กำหนดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ตามนโยบายที่แถลงต่อสภา เป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ รัฐบาล/คณะกรรมการฯ รัฐมนตรี เป้าหมายยุทธศาสตร์กระทรวง เตรียมทำข้อตกลงการให้บริการสาธารณะ รัฐมนตรีมอบให้ปลัดกระทรวง/หัวหน้ากลุ่ม/อธิบดี ข้อตกลงในการจัดทำผลผลิต เป้าหมายการให้บริการ ปลัดกระทรวง/หัวหน้ากลุ่ม/อธิบดี แผนการดำเนินงาน/ผลผลิต/ตัวชี้วัดความสำเร็จ
กระบวนการจัดทำข้อตกลงการให้บริการสาธารณะ กระทรวง รวบรวมเป้าหมายการให้บริการสาธารณะ เจรจาต่อรองกับรัฐบาล/คณะกรรมการ รับผิดชอบข้อตกลงฯ ที่มีการดำเนินการหลายหน่วยงาน เจรจาต่อรองกับรัฐบาล/คณะกรรมการ กระทรวงหลัก คณะกรรมการ/รัฐมนตรี เห็นชอบร่างข้อตกลง จัดทำและอนุมัติงบประมาณ รัฐมนตรี/ปลัดกระทรวง/หัวหน้ากลุ่ม/อธิบดี ใช้ข้อตกลงการให้บริการสาธารณะ ใช้ข้อตกลงการจัดทำผลผลิต รัฐบาล/คณะกรรมการฯ/รัฐมนตรี ติดตามและประเมินผลงาน