การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การศึกษาต้นทุนการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ : ศึกษากรณีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ คณะวิจัย นายธนชีพ พีระธรณิศร์ นักวิชาการสาธารณสุข.
การบูรณาการขับเคลื่อนตามความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ในภาคกลาง
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย
แผนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตบริการสุขภาพที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2558
แผนบูรณาการ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
โดย นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การกำหนดตัวชี้วัด ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

เหตุผลความจำเป็น ตัวชี้วัดที่มีอยู่ไม่สามารถบ่งชี้สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมในภาพรวมของประเทศได้ ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลตัวชี้วัด เนื่องจากมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ ขาดเครื่องมือและเทคโนโลยีในการจัดเก็บข้อมูล

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศได้

การประมวลข้อมูลตัวชี้วัด WHO เช่น ความปลอดภัยด้านอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร การสุขาภิบาล คุณภาพอากาศฯลฯ NEHAP เช่น คุณภาพอากาศ น้ำ การสุขาภิบาล ขยะมูลฝอย สารเคมีเป็นพิษและสารอันตราย ฯลฯ เช่น การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การควบคุมเหตุรำคาญ การควบคุมกิจการ ฯลฯ พ.ร.บ.สาธารณสุข MDGs กรมอนามัย ตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงทรัพย์ฯ

รายละเอียดตัวชี้วัด เป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนา ควบคุม กำกับและติดตามงานอนามัยสิ่งแวดล้อม การเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม บ่งชี้สถานการณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อม อปท. 1. อปท.ต้นแบบที่มีการดำเนินงาน EHA 2. อปท.ที่มีการจัดการมูลฝอย/สิ่งปฏิกูล ถูกสุขลักษณะ สถานประกอบการ สถานประกอบการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน  ประชาชน 1. ประชาชนมีพฤติกรรมอนามัย ที่ถูกต้อง 2. ชุมชนต้นแบบสุขาภิบาลยั่งยืนฯ กรมอนามัย 1. มาตรฐานวิชาการในการควบคุมกิจการแต่ละประเภท (ต่อ) 1. ความเสี่ยงจากการปนเปื้อนในอาหาร 2. คุณภาพน้ำบริโภค 3. การจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอย โดย Manifest system 4. คุณภาพอากาศ Indoor air ในพื้นที่เสี่ยง เช่น ศูนย์เด็กเล็ก 5. สาธารณภัย เช่น หมอกควัน 6. การเตรียมการสำหรับการรองรับ AC เช่น การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมบริเวณพื้นที่ชายแดน ด่านตรวจคนเข้าเมือง 1. อาหาร - การปนเปื้อน - สถานประกอบการได้มาตรฐาน 2. น้ำ - คุณภาพน้ำบริโภคประเภทต่างๆ เช่น น้ำประปา น้ำจากตู้หยอดเหรียญ - อัตราป่วยด้วยโรคอาหารและน้ำเป็นสื่อ 3. คุณภาพอากาศ – AQI 4. ขยะมูลฝอย - การจัดการมูลฝอยของ อปท. (ขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะอันตราย) 5. สิ่งปฏิกูล - การจัดการสิ่งปฏิกูลของ อปท.

รายละเอียดตัวชี้วัด เป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนา ควบคุม กำกับและติดตามงานอนามัยสิ่งแวดล้อม การเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม บ่งชี้สถานการณ์ 2. การพัฒนาต้นแบบ - HIA ในกิจการและ setting ต่างๆ (ตลาดนัด แหล่งท่องเที่ยว) - การออกข้อกำหนดท้องถิ่น - การจัดการปฏิกูล,มูลฝอยและน้ำเสีย - การสุขาภิบาลยั่งยืน 3. เกณฑ์/มาตรฐานการสุขาภิบาลครัวเรือน 4. มีระบบเตือนภัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับสถานการณ์ 5. พัฒนาระบบฐานข้อมูลและศูนย์สารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

การดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 การกำหนดประเด็นตัวชี้วัด การรวบรวมข้อมูลตัวชี้วัด วิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ ปีงบประมาณ 2556 อาหาร น้ำ อากาศ ขยะ สิ่งปฏิกูล เก็บรวบรวมตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานต่างๆ ประมวลผลและทดลองออกแบบระบบ