งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตบริการสุขภาพที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตบริการสุขภาพที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2558"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตบริการสุขภาพที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2558
Focal Point นครปฐม ร่วมกับ ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี สสจ.ประจวบ ฯ สสจ.เพชรบุรี สสจ.ราชบุรี สสจ.กาญจนบุรี สสจ.สมุทรสาคร สสจ.สมุทรสงคราม สสจ.สุพรรณบุรี

2 การจัดการมูลฝอยทั่วไป
จังหวัด00 สถานที่ กำจัดขยะ (แห่ง) ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล (แห่ง) ร้อยละ กาญจนบุรี 67 59 88.1 ราชบุรี 61 60 98.4 สมุทรสงคราม 30 27 90.0 เพชรบุรี 47 44 93.68 ประจวบคีรีขันธ์ 38 22 42.1 สุพรรณบุรี 14 46.7 นครปฐม 13 100 สมุทรสาคร 7 53.9 เขตเครือข่ายบริการที่ 5 299 246 82.3 10 จังหวัดที่มีปัญหา มูลฝอยตกค้างสะสมสูง นครปฐม จังหวัดที่จะมีการแก้ไขปัญหาเร่งด่วน (คสช) กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ปัญหาที่ยังคงอยู่ ปริมาณมูลฝอยเพิ่มขึ้นทุกปี/ การกำจัดไม่ถูกหลักสุขาภิบาล มลพิษและผลกระทบต่อสุขภาพจากการกำจัดไม่ถูกต้อง มูลฝอยตกค้าง สะสม เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและพาหะนำโรค การบังคับใช้ กฎหมายของท้องถิ่นยังไม่มีประสิทธิภาพ 28/08/2557

3 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ 5,408 กก./วัน แห่ง 11 1,524 8 8 8 8 1,030 6 747 579 4 442 421 467 3 198 โรงพยาบาล (ใน/นอก สังกัดสำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข นอกกระทรวงสธ.และเอกชน ปัญหาที่ยังคงอยู่ ปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การควบคุมการขนส่ง เพื่อนำไปกำจัดยังไม่ดีพอ ทำให้เกิดการลักลอบทิ้งในที่สาธารณะ หรือทิ้งรวมกับขยะทั่วไป 3. เตาเผาชำรุด/ไม่ได้มาตรฐาน ทำให้เกิดมลพิษต่อสุขภาพ

4 เรื่องร้องเรียนเหตุรำคาญ
จังหวัดที่มีการร้องเรียนเหตุรำคาญด้านมลพิษสิ่งแวดล้อมสูงสุด 10 อันดับแรก (ปี 2554) จำนวนเหตุรำคาญในเขตสุขภาพปี 2556 ที่ร้องเรียนผ่าน สสจ.และกรม คพ. จำนวน เรื่อง จังหวัด นครปฐม สมุทรสาคร 5 ลำดับเรื่องร้องเรียนสูงสุด 1 กลิ่นเหม็น/ฝุ่นละออง 2 เสียงดัง/เสียงรบกวน 3 น้ำเสีย 4 มูลฝอย/สิ่งปฏิกูล 5 ของเสียอันตราย ปัญหาที่ยังคงอยู่ การบังคับใช้กฎหมายของท้องถิ่นในการควบคุมกิจการต่างๆ ยังไม่มีประสิทธิภาพ บุคลาการท้องถิ่นขาดทักษะในการดำเนินงาน ยังไม่มีค่ามาตรฐานเหตุรำคาญบางเรื่องที่เป็นปัญหา

5 ประเภทการเกิดเหตุฉุกเฉิน
พื้นที่เสี่ยงมลภาวะ ประเภทการเกิดเหตุฉุกเฉิน กจ ปข นฐ รบ สค สพ สส พบ รวม (ครั้ง) การลักลอบทิ้งกากของเสีย/สารเคมี 10 1 3 5 2 22 การปนเปื้อนสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อม การลักลอบเผาขยะ / เพลิงไหม้บ่อขยะ ก๊าซแอมโมเนียรั่ว 6 การรั่วไหลของสารเคมี/ก๊าซจากสถานประกอบการ การรั่วไหลสารเคมี/ก๊าซจากอุบัติเหตุรถขนส่ง 11 มลพิษจากอัคคีภัยในสถานประกอบการ 9 15 มลพิษจากอัคคีภัยรถขนส่งเชื้อเพลิง 4 14 8 19 63 จังหวัด ประเภทความเสี่ยง สุพรรณบุรี ฟลูออไรด์ สารหนู สมุทรสาครนครปฐม อุตสาหกรรม ตะกั่ว ประจวบฯ 1) โรงไฟฟ้าชีวมวล กาญจนบุรี 1) ตะกั่ว ลักลอบทิ้งสาร ฯ เพชรบุรี ราชบุรี ปัญหาที่ยังคงอยู่ ไม่มีระบบเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อย่างต่อเนื่องในพื้นที่เสี่ยง 2. ขาดฐานข้อมูลความเสี่ยงและผลกระทบต่อสุขภาพ 3. ศักยภาพทีมปฏิบัติการแก้ไขสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ระดับพื้นที่

6 จังหวัดที่มีอัตราป่วยโรคระบบทางเดินอาหารสูง
พ.ศ จังหวัด สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ประจวบคีรีขันธ์ 28/08/2557

7 มาตรการของยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
มาตรการสำคัญ กลุ่มเป้าหมาย ดำเนินการ ผลลัพธ์/ ผลผลิต ผลลัพธ์ ทางสุขภาพ การบังคับใช้กฎหมาย พัฒนาระบบการ จัดการอนามัย สิ่งแวดล้อมของอปท. พัฒนาระบบการ จัดการฯของสถาน บริการ สธ. การเฝ้าระวัง เตือนภัย สื่อสาร พัฒนาคุณภาพการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมใน สถานประกอบการ และชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกข้อบังคับท้องถิ่น มีกระบวนงานได้มาตรฐานในการจัดบริการ Healthy Env. การจัด บริการของ อปท. ได้ มาตรฐาน รพ. ดำเนินงาน ได้มาตรฐาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีกลไกในระดับพื้นที่ มีระบบเฝ้าระวัง มีหน่วยรองรับกรณีฉุกเฉิน มีการจัดบริการ ของหน่วยบริการ สสจ. สสอ.รพ. สสจ. สสอ.รพ./รพ.สต. อสม.มีความรู้ มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง/ส่งเสริมการปรับพฤติกรรม ปชช. ปชช. มีส่วนร่วมและมีพฤติกรรมฯ ที่ถูกต้อง ภาคประชาชน/ ชุมชน ภาคประชาชน/ ชุมชน Health Impact โรคระบบทาง เดินอาหาร ลดลง หน่วยงานภายนอก / ภาคีเครือข่าย การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ มีกลไกการเชื่อมโยง ทั้งใน/นอก สถานประกอบการ / ภาคีเครือข่าย

8 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด
หน่วยงานสาธารณสุข อทป. ระบบเฝ้าระวัง สวล.&สะท้อนกลับ สื่อสารความเสี่ยง M & E ออกข้อกำหนด การบังคับใช้ ระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม สร้างความเข้มแข็ง แก่ อปท. การจัดการ ขยะ สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (หน่วยงานสาธารณสุข) บ้านสะอาด องค์กรต้นแบบ

9 ตัวชี้วัด 1 ร้อยละ 50 ของเทศบาลมีระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน
1   ร้อยละ 50 ของเทศบาลมีระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน 2   ร้อยละ 100 ของเครือข่ายบริการสุขภาพ (คปสอ.) มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ถูกสุขลักษณะตามกฎกระทรวง 3   ร้อยละ 80  ของจำนวนเหตุรำคาญตามพ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 ได้รับการจัดการตามขั้นตอนมาตรฐาน    4   มี ชุมชน/หมู่บ้านต้นแบบด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (บ้านสะอาด) จังหวัดละ 1 แห่ง 5   มีต้นแบบด้านการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  เขตละ 1 แห่ง 6   ส้วมสาธารณะกลุ่มสถานที่ (settings) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS ร้อยละ80  และ โรงพยาบาล ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS ร้อยละ และ รพ.สต.ร้อยละ 90 8. ร้อยละ 20 ของรพ.สต.มีการจัดบริการคลินิกสุขภาพเกษตรกร

10 กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point + ศอ.4ราชบุรี)
มาตรการ บทบาทการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point ศอ.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด มาตรการที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพและกลไกการบังคับใช้กฎหมาย 1.1ขับเคลื่อนการดำเนินงานของ อสธจ.(ตามกฎหมาย) 1.1.1 จัดอบรม เลขา อสธจ. อบรมเชิงปฏิบัติการด้านกฎหมายสาธารณสุข และการ ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น แก่ทีมที่ปรึกษาด้านกฎหมายการสาธารณสุข 1.1.4 พัฒนาเครื่องมือตรวจสอบการยกร่างข้อกำหนด 1.1.5 พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น 1.1.1 จัดประชุม อสธจ. และดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ 1.1.2 เผยแพร่ และดำเนินงานแก้ไขปัญหาตาม มติ อสธจ. 1.1.3.อบรมเชิงปฏิบัติการด้านกฎหมายสาธารณสุข 1.1.4 จัดทำฐานข้อมูลด้านการออก –ข้อกำหนดของท้องถิ่น 1.1.5 ส่งเสริม สนับสนุนให้คำปรึกษา แนะนำ อปท. 1.2.พัฒนาการจัดการเหตุรำคาญตามมาตรฐาน 1.2.1 พัฒนาระบบการเฝ้าระวังเหตุรำคาญ 1.2.2 ให้คำแนะนำปรึกษาการจัดการเหตุรำคาญแก่จังหวัด 1.2.1 เผยแพร่ และสนับสนุนการใช้ระบบการเฝ้าระวังเหตุรำคาญ ให้ อปท. 1.2.2 ให้คำแนะนำปรึกษาการจัดการเหตุรำคาญแก่ สสอ./อปท. 1.3.ส่งเสริมการประเมินความเสี่ยง และการประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA 1.3.1พัฒนาต้นแบบการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในการจัดการปัญหาเหตุรำคาญ และการควบคุมกิจการตามพรบ.การสาธารณสุข 1.3.1.ร่วมสนับสนุน และผลักดัน อปท. ในการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในการจัดการปัญหาเหตุรำคาญ 1.3.2 อบรมให้ความรู้ด้านการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพให้แก่ สสอ./ อปท.

11 (Focal Point + ศอ.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด
มาตรการ บทบาทการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point ศอ.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด มาตรการที่ 2 พัฒนาระบบการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของอปท. 2.1. อบรมเรื่องการพัฒนาระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA) สสจ.และสสอ. 2.2. ประเมินเพื่อรับรองคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) ของอปท. 3. ประกาศเกียรติคุณองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นต้นแบบคุณภาพระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) ระดับเกียรติบัตร 1. จัดอบรมให้ความรู้ ในการพัฒนาระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA) แก่ อปท. 2. สนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA)ของ อปท.และประเมินเพื่อรับรองคุณภาพ ฯ 3. จัดทำฐานข้อมูลด้านการพัฒนาคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA) ของอปท. 4. ประกาศเกียรติคุณ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่ผ่านการรับรองคุณภาพระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) ระดับ จังหวัด

12 กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point + ศอ.4ราชบุรี)
มาตรการ บทบาทการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point ศอ.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด มาตรการที่ 3 การเฝ้าระวัง และป้องกัน แก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3.1 การเฝ้าระวัง และป้องกัน แก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง 3.1.1.จัดทำฐานข้อมูล / สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมระดับเขต จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการแก้ไขปัญหาในระดับเขต สนับสนุนและเป็นที่ปรึกษาจังหวัดในการเฝ้าระวัง เตือนภัย และสื่อสารสาธารณะ 3.1.1.จัดทำฐานข้อมูล / สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด ระบุพื้นที่เสี่ยง และผลกระทบได้ จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการแก้ไขปัญหาในระดับจังหวัด จัดตั้ง และสร้างเครือข่ายทีมเฝ้าระวัง และตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของ

13 กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point + ศอ.4ราชบุรี)
มาตรการ บทบาทการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point ศอ.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด มาตรการที่ 3 การเฝ้าระวัง และป้องกัน แก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3.1 การเฝ้าระวัง และป้องกัน แก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง 3.1.1.จัดทำฐานข้อมูล / สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมระดับเขต จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการแก้ไขปัญหาในระดับเขต สนับสนุนและเป็นที่ปรึกษาจังหวัดในการเฝ้าระวัง เตือนภัย และสื่อสารสาธารณะ 3.1.1.จัดทำฐานข้อมูล / สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด ที่ ระบุพื้นที่เสี่ยง และผลกระทบได้ จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการแก้ไขปัญหาในระดับจังหวัด จัดตั้ง และสร้างเครือข่ายทีมเฝ้าระวัง และตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของจังหวัด/อำเภอ

14 กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point + ศอ.4ราชบุรี)
มาตรการ บทบาทการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point ศอ.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด มาตรการที่ 3 การเฝ้าระวัง และป้องกัน แก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3.1 การเฝ้าระวัง และป้องกัน แก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง พัฒนาระบบ/กลไกเฝ้าระวัง ฯ ในจังหวัด และมีการจัดการแก้ไขปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ใน พื้นที่ปกติ พื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม * ภาคอุตสาหกรรม / กิจการที่อาจมีผลกระทบรุนแรง * ชุมชนแรงงานต่างด้าว * ชายแดน/เขตพัฒนาเศรษฐกิจอาเซียน สนับสนุนและเป็นที่ปรึกษา ให้อำเภอดำเนินงานเฝ้าระวัง ฯ 3.1.6.จัดให้มีการเครื่องมือ การดูแลบำรุงรักษาเครื่องมือภาคสนามการใช้ชุดทดสอบภาคสนาม และ อุปกรณ์พื้นฐานอื่นๆ

15 กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point + ศอ.4ราชบุรี)
มาตรการ บทบาทการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point ศอ.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด 3.2 พัฒนาระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ 3.2.1.พัฒนากลไกตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ 3.2.1.พัฒนากลไกแจ้งเหตุ/สื่อสาร/เตือนภัย สร้างเครือข่ายการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯในระดับจังหวัด ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการฯ+ซ้อมแผนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ เตรียมความพร้อมเครื่องมือ อุปกรณ์รองรับการเกิดเหตุฯ พัฒนาฐานข้อมูลความเสี่ยง แผนที่เสี่ยง ในจังหวัด พัฒนากลไกการแจ้งเหตุ รายงานและประสานข้อมูลกับเขต ส่วนกลางและหน่วยงานในพื้นที่ ประสานงาน บูรณาการการทำงานในพื้นที่ เมื่อเกิดเหตุ สื่อสาร เตือนภัย

16 กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด
มาตรการ บทบาทการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point + ศอ.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด มาตรการที่ 4 ส่งเสริมคุณภาพการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ และชุมชน 4.1. ส่งเสริม สนับสนุน และผลักดันจังหวัด ในการนำมาตรฐานงานอนามัยสิ่งแวดล้อม สู่การปฏิบัติ 4.2.การประเมินรับรองตามมาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ระดับดีเด่น/ต้นแบบ และถอดบทเรียน ของเขต 4.3.สนับสนุน/ให้คำปรึกษาเรื่ององค์ความรู้และมาตรฐานงานอนามัยสิ่งแวดล้อม แก่เครือข่าย และท้องถิ่น 4.4. พัฒนาต้นแบบ/ศูนย์เรียนรู้ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในเขต 4.1.ส่งเสริม สนับสนุน และผลักดันให้ สสอ./ อปท. นำมาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ไปปฏิบัติในระดับพื้นที 4.2.การประเมินรับรองตามมาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด 4.4. พัฒนาต้นแบบ/ศูนย์เรียนรู้ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในจังหวัด

17 กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point + ศอ.4ราชบุรี)
มาตรการ บทบาทการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point ศอ.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด มาตรการที่ 4 ส่งเสริมคุณภาพการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ และชุมชน 4.5.พัฒนาหลักสูตรเชิงปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สำหรับ เจ้าพนักงานสาธารณสุข และภาคีเครือข่าย 4.5.พัฒนาต้นแบบการสร้างความเข้มแข็งภาคประชาชน ในการเฝ้าระวังและจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 4.7.สนับสนุนและสาธิตชุดความรู้/คู่มือ/แนวทางการปฏิบัติ/วัสดุอุปกรณ์ 4.5. จัดประชุมพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมและความร่วมมือ 4.6.บูรณาการร่วมกับงานสาธารณสุขมูลฐานในการพัฒนาหลักสูตรจัดฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข 4.7.สรรหา อสม.ดีเด่นด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด 4.8. สร้างเครือข่ายความร่วมมือภาคประชาชน ในการเฝ้าระวังและจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 4.9. สนับสนุนและสาธิตชุดความรู้/คู่มือ/แนวทางการปฏิบัติ/วัสดุอุปกรณ์ 4.10.จัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เชิดชูเกียรติระดับจังหวัด

18 กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point + ศอ.4ราชบุรี)
มาตรการ บทบาทการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point ศอ.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด มาตรการที่ 5 พัฒนาคุณภาพการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการสุขภาพ มูลฝอยติดเชื้อ 5.1 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย พัฒนาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ในรูปเครือข่าย พัฒนาระบบฐานข้อมูล และการกำกับติดตามการขนส่ง สุ่มประเมินเชิงคุณภาพ 5.1.1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ พัฒนารูปแบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในรูปเครือข่ายระดับตำบล/อำเภอ/จังหวัด และอปท. ร่วมกำกับติดตามการใช้ระบบเอกสารกำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ 5.1.3.สนับสนุนการจัดอบรม จนท.ผู้รับผิดชอบมูลฝอยติดเชื้อของรพ/อำเภอ กำกับติดตามการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสุขภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานกฎหมาย และแบบอย่างที่ดี 5.1.5.พัฒนาขีดความสามารถ รพช./รพท./รพศ ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม 5.1.6 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม แก่ จนท.สาธารณสุข ระดับ อำเภอ /ตำบล

19 กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point + กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด
มาตรการ บทบาทการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก ระดับเขต (Focal Point + สคร.4ราชบุรี) กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด มาตรการที่ 5 พัฒนาคุณภาพการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการสุขภาพ 5.2 การจัดบริการอาชีวเวชศาสตร์ในหน่วยบริการสุขภาพ 5.2การจัดบริการอาชีวเวชศาสตร์ในหน่วยบริการสุขภาพ 5.2.1 การพัฒนาระบบคุณภาพการจัดการอาชีวเวชศาสตร์ใน รพศ./รพท. 5.2.2 การพัฒนาระบบคลินิกเกษตรและแรงงานนอกระบบในหน่วย บริการสุขภาพ 5.2.1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดบริการอาชีวเวชศาสตร์ของหน่วยบริการแก่รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพ.สต. พัฒนาระบบคุณภาพการจัดการอาชีวเวชศาสตร์ใน รพศ.รพท./รพช./รพ.สต. พัฒนาระบบคลินิกเกษตรและแรงงานนอกระบบในหน่วยบริการสุขภาพ 5.2.4.ส่งเสริม /พัฒนา สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กาย ใจ เป็นสุข


ดาวน์โหลด ppt แผนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตบริการสุขภาพที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google