การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การกำหนดตัวชี้วัด ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
เหตุผลความจำเป็น ตัวชี้วัดที่มีอยู่ไม่สามารถบ่งชี้สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมในภาพรวมของประเทศได้ ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลตัวชี้วัด เนื่องจากมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ ขาดเครื่องมือและเทคโนโลยีในการจัดเก็บข้อมูล
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศได้
การประมวลข้อมูลตัวชี้วัด WHO เช่น ความปลอดภัยด้านอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร การสุขาภิบาล คุณภาพอากาศฯลฯ NEHAP เช่น คุณภาพอากาศ น้ำ การสุขาภิบาล ขยะมูลฝอย สารเคมีเป็นพิษและสารอันตราย ฯลฯ เช่น การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การควบคุมเหตุรำคาญ การควบคุมกิจการ ฯลฯ พ.ร.บ.สาธารณสุข MDGs กรมอนามัย ตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงทรัพย์ฯ
รายละเอียดตัวชี้วัด เป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนา ควบคุม กำกับและติดตามงานอนามัยสิ่งแวดล้อม การเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม บ่งชี้สถานการณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อม อปท. 1. อปท.ต้นแบบที่มีการดำเนินงาน EHA 2. อปท.ที่มีการจัดการมูลฝอย/สิ่งปฏิกูล ถูกสุขลักษณะ สถานประกอบการ สถานประกอบการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ประชาชน 1. ประชาชนมีพฤติกรรมอนามัย ที่ถูกต้อง 2. ชุมชนต้นแบบสุขาภิบาลยั่งยืนฯ กรมอนามัย 1. มาตรฐานวิชาการในการควบคุมกิจการแต่ละประเภท (ต่อ) 1. ความเสี่ยงจากการปนเปื้อนในอาหาร 2. คุณภาพน้ำบริโภค 3. การจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอย โดย Manifest system 4. คุณภาพอากาศ Indoor air ในพื้นที่เสี่ยง เช่น ศูนย์เด็กเล็ก 5. สาธารณภัย เช่น หมอกควัน 6. การเตรียมการสำหรับการรองรับ AC เช่น การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมบริเวณพื้นที่ชายแดน ด่านตรวจคนเข้าเมือง 1. อาหาร - การปนเปื้อน - สถานประกอบการได้มาตรฐาน 2. น้ำ - คุณภาพน้ำบริโภคประเภทต่างๆ เช่น น้ำประปา น้ำจากตู้หยอดเหรียญ - อัตราป่วยด้วยโรคอาหารและน้ำเป็นสื่อ 3. คุณภาพอากาศ – AQI 4. ขยะมูลฝอย - การจัดการมูลฝอยของ อปท. (ขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะอันตราย) 5. สิ่งปฏิกูล - การจัดการสิ่งปฏิกูลของ อปท.
รายละเอียดตัวชี้วัด เป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนา ควบคุม กำกับและติดตามงานอนามัยสิ่งแวดล้อม การเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม บ่งชี้สถานการณ์ 2. การพัฒนาต้นแบบ - HIA ในกิจการและ setting ต่างๆ (ตลาดนัด แหล่งท่องเที่ยว) - การออกข้อกำหนดท้องถิ่น - การจัดการปฏิกูล,มูลฝอยและน้ำเสีย - การสุขาภิบาลยั่งยืน 3. เกณฑ์/มาตรฐานการสุขาภิบาลครัวเรือน 4. มีระบบเตือนภัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับสถานการณ์ 5. พัฒนาระบบฐานข้อมูลและศูนย์สารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 การกำหนดประเด็นตัวชี้วัด การรวบรวมข้อมูลตัวชี้วัด วิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ ปีงบประมาณ 2556 อาหาร น้ำ อากาศ ขยะ สิ่งปฏิกูล เก็บรวบรวมตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานต่างๆ ประมวลผลและทดลองออกแบบระบบ