ภาพโดยรวมของโครงการ e-Radio ชื่อโครงการ การสื่อสารผ่านโครงข่ายอินเตอร์เน็ต เจ้าของโครงการ ศูนย์นเรนทร กระทรวงสาธารณสุข ผู้นำเสนอ กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม กองวิศวกรรมการแพทย์
เป้าหมายของโครงการ เป้าหมายของโครงการ เพื่อ เป็นระบบสื่อสารทางเลือก มีความ สามารถ ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วประเทศ ความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น เช่น การพัฒนาระบบสื่อสารผ่านโครงข่ายทวนสัญญาณวิทยุ Semi duplex และระบบ Simplex เป้าหมายในการกำหนดเวลาอย่างคร่าวๆ ที่กำหนดไว้ประกอบด้วย กทธ. ต้องมีระบบสื่อสารรองรับได้ทั่วประเทศก่อนเทศกาลสงกรานต์ 2550 ทำโครงการนำร่องระบบ e-Radio > 30 แห่ง ทั่วประเทศ ภายในปี 2550 ออกแบบ จัดทำ/จัดหาระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม IP Star จำนวน 11 ชุด เป็นต้นแบบในการพัฒนาระบบสื่อสารระยะต่อไป ภายในปี งปม. 2550
การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบ VoIP (e-Radio) ระยะที่ 1 พัฒนาระบบ และบุคคลากร ระยะที่ 2 เริ่มการใช้งานแบบ PC -> PC ระยะที่ 3 PC -> PC & วิทยุสื่อสาร ระยะที่ 4 วิทยุสื่อสาร & PC -> PC & วิทยุสื่อสาร ระยะที่ 5 เสริมสร้างสมรรถนะระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม
การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบ VoIP (e-Radio) ระยะที่ 1 ของ System
การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบ VoIP (e-Radio) ระยะที่ 1 ของ System
การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบ VoIP (e-Radio) ระยะที่ 2 Simplex
การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบ VoIP (e-Radio) ระยะที่ 2 Simplex
การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบ VoIP (e-Radio) ระยะที่ 2 Semi-Duplex
การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบ VoIP (e-Radio) ระยะที่ 3
การพัฒนาโครงข่ายสื่อสารแบบ VoIP (e-Radio) ระยะที่ 3
การพัฒนา และเชื่อมต่อระบบ e-Radio ศูนย์สื่อสารควบคุม และสั่งการระดับกระทรวง 1. ศูนย์นเรนทร 2. ศูนย์เทวะเวสม์ 3. ศูนย์พญาไท ศูนย์สื่อสารควบคุม และสั่งการระดับจังหวัด โรงพยาบาลประจำจังหวัด หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จังหวัดที่มีความจำเป็นที่ต้องใช้ระบบทวนสัญญาณ เช่น กาญจนบุรี
Server ที่ให้บริการในขณะนี้ 203.157.12.250 Port 10024 203.157.12.251 Port 10024 203.157.12.252 Port 10024 อื่นๆ จะแจ้งให้ทราบเป็นระยะ (จะเปลี่ยน Server ใหม่ภายในปี 2550 นี้)
การซ้อมแผน และการขอใช้ระบบ VoIP สนับสนุน กิจกรรมด้านอุบัติเหตุ อุบัติภัย และวาตะภัย ระดับกระทรวง ระดับเขต ระดับจังหวัด XXX: ประสานแจ้ง พญาไท 314 หรือ พญาไท 7107
การใช้ระบบ e-Radio เพื่อการประชุม สามารถทำได้โดยใช้ห้องที่ไม่ได้เชื่อมต่อวิทยุสื่อสาร ควรมีข้อความแจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบ ควรประสานแจ้งผู้ควบคุม Server เปิดห้องกิจกรรมพิเศษเพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับกิจกรรม
การ Standby ระบบ e-Radio ห้อง CH1-11LINK (เชื่อมต่อวิทยุช่อง 11) ห้อง นเรนทร (ใช้ในการทดสอบความชัดเจน) ห้อง จังหวัด
การใช้ปุ่ม PTT (Push to talk) เลือก ROOM ที่ Active ควรใช้ Spacebar key แทน Mouse สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม... แสดงรายการสถานที่หรือที่ติดต่อสำหรับรายละเอียด (หรือเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง) ที่นี่
การทดสอบความชัดเจน (ว.16) กับศูนย์นเรนทร เช้า เวลา 10.00 น. บ่าย เวลา 19.00 น. ดึก เวลา 01.00 น. ใช้ “ห้อง CH1-11LINK” ในการทดสอบสัญญาณ
เกณฑ์การให้คะแนน เป็นไปตามหลักเกณฑ์เดิมที่เคยปฏิบัติ
การบันทึกเสียงการสนทนา สามารถทำได้ด้วย Software
เอกสารที่เกี่ยวข้อง คู่มือ eQSO www.thaieqso.com 203.157.12.251 เอกสาร อ.ประสพพงษ์ บัวทอง