ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี วัยรุ่นมีความรู้ มีเจตคติที่ดีด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ และสามารถดูแลตนเอง ประพฤติตนเหมาะสม อยู่ในกรอบขนบธรรมเนียมประเพณีไทย เป็นแบบอย่างที่ดี มีการรวมตัวเป็นเครือข่าย ดูแลซึ่งกันและกัน

ระดับประชาชน (วัยรุ่น) ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดปราจีนบุรี ภายใน ๔ ปี (๒๕๔๔-๒๕๕๗) ระดับประชาชน (วัยรุ่น) วัยรุ่น มีความรู้ทักษะในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง มีความละอายและเกรงกลัวต่อบาป(หิริโอตตัปปะ) ครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลลูกวัยรุ่น โดยเข้าใจถึงปัญหาและการเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการตามวัย ด้วยการให้ความรัก ความอบอุ่นและดูแลอย่างใกล้ชิด ชุมชนให้ความสำคัญในการร่วมกันดูแลวัยรุ่น โดยสนับสนุนการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ระดับภาคี - ทุกภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีการประสานงานและสนับสนุนการดำเนินงานเกี่ยวกับวัยรุ่นอย่างจริงจังและเข้มแข็ง ระดับกระบวนการ มีระบบบริหารภาคีเครือข่าย มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีระบบติดตาม/ประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ มีระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐานและเป็นมิตรกับวัยรุ่น มีกระบวนการประสานงาน/การสื่อสารที่ดีเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย มีระบบพัฒนากฎหมาย/กฎ/ระเบียบ ระดับพื้นฐาน ทิศทางนโยบาย(สำคัญมาก) (ผวจ.) มีทีมสหวิชาชีพ มีองค์กรรับผิดชอบชัดเจนในการขับเคลื่อน ระบบฐานข้อมูล/ช่องทางการเข้าถึงง่าย งบประมาณสนับสนุน

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดปราจีนบุรี ภายใน ๔ ปี (๒๕๔๔-๒๕๕๗) (SRM) ภายในปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๗ วัยรุ่นมีความรู้ มีเจตคติที่ดีด้านอนามัยการเจริญพันธุ์และสามารถดูแลตนเอง ประพฤติตนเหมาะสมอยู่ในกรอบขนบธรรมเนียมประเพณีไทย เป็นแบบอย่างที่ดี มีการรวมตัวเป็นเครือข่ายดูแลซึ่งกันและกัน วัยรุ่น มีความรู้ทักษะในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง มีความละอายและเกรงกลัวต่อบาป(หิริโอตตัปปะ) ส่งเสริมกิจกรรมความรู้คู่คุณธรรม ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของวัยรุ่นในชุมชนมี กิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลลูกวัยรุ่น โดยเข้าใจถึงปัญหาและการเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการตามวัย ด้วยการให้ความรัก ความอบอุ่นและดูแลอย่างใกล้ชิด ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว สร้างเครือข่ายครอบครัวต้นแบบ ส่งเสริมกิจกรรมด้านความรู้และทักษะด้านการอนามัยเจริญพันธุ์ ชุมชนให้ความสำคัญในการร่วมกันดูแลวัยรุ่น โดยสนับสนุนการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังด้านอนามัยเจริญพันธุ์ สนับสนุนการจัดทำแผนงานโครงการด้านอนามัยเจริญพันธุ์ จัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาด้านอนามัยเจริญพันธุ์ ระดับประชาชน (Valuation) สาธารณสุข ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์ บริการที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชนและวัยรุ่น สนับสนุนวิชาการ การสอนเพศศึกษาแก่ภาคีเครือข่าย สถานศึกษา จัดการเรียนการสอนให้ความรู้ด้านเพศศึกษาที่เหมาะสมตามวัยผู้เรียน จัดกิจกรรมเสริมให้ความรู้ด้านเพศศึกษาแก่ผู้เรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบ สนับสนุนองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรมที่ให้ความรู้อันพึงประสงค์ด้านเพศศึกษาแก่ผู้เรียน พม. สนับสนุนศูนย์ประสานเครือข่ายให้เข้มแข็ง/ยั่งยืน ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันครอบครัว ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งสภาเด็กตำบล อปท./แกนนำเครือข่ายชุมชน สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง (ทรัพยากรพร้อมด้วย) บรรจุเข้าแผนสุขภาพของอปท. สนับสนุนให้มีการจัดตั้งและการดำเนินงานของสภาเยาวชนโดยมีจนท.ภาครัฐสนับสนุนด้านวิชาการ ตำรวจ/อัยการ จัดโซนนิ่ง กวดขัน กวาดล้าง จับกุม การผลิตและจำหน่ายสื่อลามก/อนาจาร ตรวจพื้นที่เสี่ยง คุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน (Stakeholder) ระดับภาคี มีกระบวนการประสานงาน/ การสื่อสารที่ดีเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมด้านการประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงและเข้าใจง่าย จัดตั้งศูนย์การประสานงานระดับจังหวัด พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้มีความหลากหลาย มีระบบบริหารภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ มีหน่วยงานเจ้าภาพหลัก สร้างการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ พัฒนาศักยภาพเครือข่าย มีระบบติดตาม/ประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบติดตามและประเมินผล ส่งเสริมการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบการจัดทำข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนา มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้ ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ระดับกระบวนการ องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการทำงาน ให้การสนับสนุนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ต้องเรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สร้างเครือข่าย บุคลากรมีสมรรถนะแบบมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร สร้างเครือข่ายด้านอนามัยเจริญพันธุ์ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีระบบฐานสารสนเทศครบถ้วน/ทันสมัย พัฒนาฐานข้อมูลอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชนให้ครบถ้วน/ทันสมัย สร้างช่องทางการเข้าถึงข้อมูลให้ง่าย/ครอบคลุม พัฒนาบุคลากร ระดับ พื้นฐาน 3

ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดปราจีนบุรี ภายในปี 2555 (ระยะ 2 ปี) ครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลลูกวัยรุ่น โดยเข้าใจถึงปัญหาและการเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการตามวัย ด้วยการให้ ความรัก ความอบอุ่นและดูแลอย่างใกล้ชิด ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว วัยรุ่น มีความรู้ทักษะในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง มีความละอายและเกรงกลัวต่อบาป(หิริโอตตัปปะ) ส่งเสริมกิจกรรมความรู้คู่คุณธรรม ชุมชนให้ความสำคัญในการร่วมกันดูแลวัยรุ่นโดยสนับสนุนการแสดงออก อย่างสร้างสรรค์ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังด้านอนามัยเจริญพันธุ์ ประชาชน อปท./แกนนำเครือข่ายชุมชน สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง (ทรัพยากรพร้อมด้วย) พม. สนับสนุนศูนย์ประสานเครือข่ายให้เข้มแข็ง/ยั่งยืน ตำรวจ/อัยการ จัดโซนนิ่ง กวดขัน กวาดล้าง จับกุม การผลิตและจำหน่ายสื่อลามก/อนาจาร ตรวจพื้นที่เสี่ยง สาธารณสุข ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์ บริการที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชนและวัยรุ่น ภาคี สถานศึกษา จัดการเรียนการสอนให้ความรู้ด้านเพศศึกษาที่เหมาะสมตามวัยผู้เรียน มีระบบติดตาม/ประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบติดตามและประเมินผล มีกระบวนการประสานงาน/ การสื่อสารที่ดีเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมด้านการประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงและเข้าใจง่าย มีระบบบริหารภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ มีหน่วยงานเจ้าภาพหลัก กระบวนการ มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้ มีระบบฐานสารสนเทศครบถ้วน/ทันสมัย พัฒนาฐานข้อมูลอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชนให้ครบถ้วน/ทันสมัย องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการทำงาน ให้การสนับสนุนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง พื้นฐาน บุคลากรมีสมรรถนะแบบมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร 4 4

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.วัยรุ่นมีความรู้ทักษะ ในการดูแลตนเองที่ ถูกต้องมีความละอาย และเกรงกลัวต่อบาป (หิริโอตตัปปะ) ส่งเสริมกิจกรรม ความรู้คู่คุณธรรม 1.พัฒนาศักยภาพ ความรู้วัยรุ่นในเรื่อง ศีลธรรมและจริยธรรม โดยความร่วมมือจาก ภาคีเครือข่ายมีการ ประกวดแข่งขันตอบ ปัญหาเรื่องคุณธรรม จริยธรรม (ระบุแกน นำ/วัยรุ่น) 2.จัดค่ายเยาวชน กระตุ้นส่งเสริมสร้าง ความตระหนักด้าน การป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 3.รณรงค์การป้องกัน การมีเพศสัมพันธ์ก่อน วัยอันควรทางหอ กระจายข่าวใน หมู่บ้าน วิทยุชุมชน โปสเตอร์ ไวนิล 4. วัยรุ่นมีความรู้ มีทักษะ ในการดูแลตนเองทุก ตำบล หมู่บ้าน เด็กวัยรุ่นเป็นต้นแบบ หน่วยงานในสังกัด กระทรวงศีกษาธิการ สภาเด็กและเยาวชน อบจ./อบต./ เทศบาล หน่วยงานใน สังกัดกระทรวง สาธารณสุข พมจ. พัฒนาชุมชน องค์กร ภาคเอกชน (NGO) วัฒนธรรม จังหวัด สำนักพุทธ 5

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.ครอบครัวมี ศักยภาพในการดูแล ลูกวัยรุ่นโดยเข้าใจถึง ปัญหาและการ เปลี่ยนแปลงของ พัฒนาการตามวัย ด้วยการให้ความรัก ความอบอุ่น และดูแล อย่างใกล้ชิด ส่งเสริมการสร้าง สัมพันธภาพใน ครอบครัว 1.ส่งเสริมกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์ใน ครอบครัว (ศูนย์ 3 วัย วันอาทิตย์) 2.จัดประกวด ครอบครัวอบอุ่นเพื่อ เป็นต้นแบบในชุมชน 3.ให้ความรู้ผู้ปกครอง ด้านการเปลี่ยนแปลง พัฒนาการตามวัย รวมทั้งปัญหาของ วัยรุ่นในปัจจุบัน มีเครือข่ายครอบคลุม ทุกตำบล พมจ. อบจ. เทศบาล อบต. วัฒนธรรมจังหวัด หน่วยงานใน สังกัดกระทรวง สาธารณสุข กระทรวง ศึกษาธิการ 6

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.ชุมชนให้ความ สำคัญในการร่วมกัน ดูแลวัยรุ่นโดย สนับสนุนการ แสดงออกอย่าง สร้างสรรค์ ส่งเสริมการสร้าง เครือข่ายการเฝ้า ระวังด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ 1.จัดเวทีประชาคม เพื่อจัดทำแผนงาน โครงการด้านอนามัย เจริญพันธุ์ 2.เสนอแผนงานต่อ อปท.เพื่อขอรับการ สนับสนุนงบประมาณ ดำเนินการ 3.จัดกิจกรรมใน ชุมชนเพื่อการ รวมกลุ่มของเยาวชน โดยใช้ดนตรี กีฬา เป็นสื่อ 4.จัดตั้งศูนย์ให้ คำปรึกษาด้านอนามัย เจริญพันธุ์ในชุมชน ทุกตำบลมีแผนงาน/ โครงการด้านการ อนามัยเจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น พมจ. พมจ.อบต เทศบาล สาธารณสุข พัฒนาชุมชน วัฒนธรรม มหาดไทย กศน. ประชาสังคม 7

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1. สถานศึกษามี ศักยภาพด้านการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ สร้างความเข้มแข็ง ในการพัฒนา อนามัยการเจริญ พันธุ์ 1.จัดการเรียนการ สอนให้ความรู้ด้าน เพศศึกษาอย่างรอบ ด้าน 2.จัดฝึกอบรม บุคลากรผู้มีหน้าที่ รับผิดชอบในด้านการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ 3.จัดกิจกรรมเสริมให้ ความรู้ด้านเพศศึกษา แก่ผู้เรียนที่อยู่ใน ความรับผิดชอบ 4.สนับสนุนองค์กรที่มี ส่วนเกี่ยวข้องในการ จัดกิจกรรมที่ให้ ความรู้อันพึงประสงค์ ด้านเพศศึกษาแก่ ผู้เรียน สถานศึกษามีการสอนพศ ศึกษาอย่างรอบด้านทุก ชุมชน ………… สพป. สพม. กศน. อุดมศึกษา อาชีวศึกษา เทศบาล อบต อบจ สาธารณสุข 8

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.สาธารณสุขพัฒนา ระบบการให้บริการที่ เป็นมิตรกับวัยรุ่น ส่งเสริม สนับสนุน การป้องกันและ แก้ไขอนามัยเจริญ พันธุ์สำหรับวัยรุ่น และเยาวชน 1.จัดบริการสุขภาพที่ เป็นมิตรสำหรับ เยาวชนและวัยรุ่น 2.จัดค่ายอบรม อนามัยเจริญพันธุ์ ให้กับผู้เกี่ยวข้อง 3.จัดกิจกรรมด้าน วิชาการเกี่ยวกับ อนามัยการเจริญพันธุ์ แก่ภาคีเครือข่าย - ทุกสถานบริการมีบริการ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น สสจ. สาธารณสุขทุก ระดับ อปท. ศธ. สถาน ประกอบการ พม. 9

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3. พม.สนับสนุน สถาบันครอบครัวให้มี วุฒิภาวะในการพัฒนา อนามัยเจริญพันธุ์ พัฒนาสถาบัน ครอบครัวให้มีความ อบอุ่นและเข้มแข็ง 1.ประกวดครอบครัว อบอุ่นในการ พัฒนาการอนามัย เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น 2.จัดกิจกรรม ครอบครัวสัญจรเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน ด้านการพัฒนา อนามัยเจริญพันธุ์ 3.จัดตั้งสภาเยาวชน ทุกตำบล 4.พัฒนาครอบครัวให้ มีความเข้มแข็ง ทุกตำบลมีครอบครัว อบอุ่นอย่างน้อย 1 ครอบครัว พม. อบต./เทศบาล ศธ. สธ. สพม. สพป. วัฒนธรรม

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4.อปท.สนับสนุน งบประมาณอย่าง พอเพียงและต่อเนื่อง ผลักดันเข้าสู่ แผนพัฒนาท้องถิ่น ในด้านการพัฒนา อนามัยการเจริญ พันธุ์ 1.จัดทำประชาคม ระดับตำบล 2.จัดทำแผนชุมชน 3.ผลักดันแผนเข้าสู่ แผนชุมชน 4.สนับสนุนกิจกรรม สภาเยาวชนระดับ ตำบล 3.สนับสนุนการจัด กิจกรรมในการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ ขององค์กรเครือข่าย ทุกอปท.มีการสนับสนุน งบประมาณการพัฒนา เยาวชนอย่างน้อย 1 แผนงาน/โครงการ อบต./เทศบาล สถานศึกษา ผู้นำชุมชน พม. รพ. สอ. ตำรวจ

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 5.หน่วยงานด้าน ยุติธรรมส่งเสริมการ ดำเนินงานด้าน กฎหมาย ระเบียบ อย่างเคร่งครัด ผลักดันกฎหมาย ระเบียบให้เสมอ ภาคอย่างทั่วถึง 1.กวดขัน กวาดล้าง จับกุม การผลิตและ จำหน่ายสื่อลามก อนาจาร 2.จัดโซนนิ่ง/ตรวจ พื้นที่เสี่ยงหรือแหล่ง มั่วสุมของเยาวชน 3.ให้การคุ้มครองสิทธิ แก่เด็กและเยาวชน อย่างเสมอภาค มีมาตรการทางสังคมของ ชุมชนเพื่อให้เกิดการใช้ กฎหมาย ระเบียบอย่าง ทั่วถึง หน่วยงานฝ่าย ปกครอง ตำรวจ วัฒนธรรม ศธ. สธ. พม. สรรพสามิต สถานพินิจ

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1. มีกระบวนการ ประสานงานการ สื่อสารที่ดีเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมด้านการ ประชาสัมพันธ์ให้ ทั่วถึงและเข้าใจ ง่าย 1. จัดอบรมพัฒนา บุคลากรด้านการ สื่อสาร/ ประชาสัมพันธ์ (จนท.แกนนำ/อสม/ เยาวชน) 2.สนับสนุน งบประมาณในการ จัดทำสื่อการ ประชาสัมพันธ์ จำนวนเยาวชน/ ประชาชนมีส่วนร่วม กิจกรรม และมีความรู้ เพิ่มขึ้น จำนวนสื่อที่เยาวชน สามารถเข้าถึงง่าย ประชาสัมพันธ์ จังหวัด อบต./เทศบาล อบจ. สสจ. พม. สพป. สพม.(เขต 7 ปราจีนฯ) กศน. 13

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2. มีระบบบริหารภาคี เครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพ มีหน่วยงาน เจ้าภาพหลัก 1.จัดตั้งคณะกรรมการ ระดับพื้นที่ 2.ประชุมเชิง ปฏิบัติการ คณะทำงานเพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจ 3.จัดทำแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ ระหว่างภาคีเครือข่าย มีแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์พัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ใน วัยรุ่นทุกระดับ (จังหวัด อำเภอ ตำบล) พม สปช สพม สธ อบจ. อบต. พช. วัฒนธรรม เหล่ากาชาด สพท. 14

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.มีระบบติดตาม ประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ พัฒนาระบบ ติดตามและ ประเมินผล 1.แต่งตั้งคณะทำงาน ติดตามและ ประเมินผล 2.ประชุมเพื่อชี้แจง และกำหนดตัวชี้วัด 3.จัดทำแนวทาง/ แผนปฏิบัติการ ติดตามประเมินผล มีระบบการติดตามและ ประเมินผลแบบมีส่วนร่วม ของทุกหน่วยงานในทุก ระดับ -พม -ศธ -สธ อบจ./เทศบาล/ อบต. สพท. สพม. กศน. กาชาด

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4.มีนวัตกรรมและองค์ ความรู้ที่มี ประสิทธิภาพ ส่งเสริมการจัดการ ความรู้ 1.ค้นหา 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ถอดบทเรียน 3.จัดคลังความรู้ (ศูนย์การเรียนรู้สู่ ชุมชน) 4.จัดประชุม สรุป ผลงานและประกวด เรื่องเล่าพฤติกรรม เยาวชน/นวัตกรรม 5.จัดทำคู่มือ/ แนวทางปฏิบัติเรื่อง การดูแลอนามัยเจริญ พันธุ์ในวัยรุ่น 6.ประชาสัมพันธ์การ ใช้คู่มือแนวทางให้ถึง กลุ่มเป้าหมาย 7.ติดตามประเมินผล จำนวนตำบลมีนวัตกรรม ด้านอนามัยเจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น -พม -ศธ -สธ -อบจ./เทศบาล/ อบต. -แรงงาน กศน. สพท. สพม. ตำรวจ อัยการ

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.บุคลากรมีสมรรถนะ แบบมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพ บุคลากร 1.มีแผนการพัฒนา 2.อบรม/ประชุม/ สัมมนาศึกษาดูงาน 3.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่าง หน่วยงาน 4.ประเมินผลการ ปฏิบัติงาน(สมรรถนะ) ของบุคลากรทุก 6 เดือน ทุกชุมชนมีทีมสหวิชาชีพ 1 ทีม -สสจ. -พม. -เทศบาล/อบต. คณะอนุกรรม การพัฒนา อนามัยการ เจริญพันธะดับ จังหวัด 17

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มีระบบฐานข้อมูล สารสนเทศครบถ้วน และทันสมัย พัฒนาฐานข้อมูล อนามัยการเจริญ พันธุ์ในวัยรุ่นและ เยาวชนให้ครบถ้วน และทันสมัย 1.จัดตั้ง คณะกรรมการ/ คณะทำงานเกี่ยวกับ การเก็บข้อมูล 2.ประชุมเชิง ปฏิบัติการของ คณะกรรมการ/ คณะทำงานเกี่ยวกับ การเก็บข้อมูล 3.จัดระบบการ เชื่อมโยงข้อมูลให้ เข้าถึงได้ง่าย มีฐานข้อมูลครบถ้วน ทันสมัย ถูกต้อง เข้าถึง ง่าย สำนักงานจังหวัด คณะอนุกรรม การอนามัย เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด 18

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.องค์กรมีวัฒนธรรม ทีเอื้อต่อการทำงาน สร้างเครือข่าย ประสานงาน ระหว่างองค์กร 1.จัดประชุมเพื่อ กำหนดวัตถุประสงค์ วางแผนการ ดำเนินงานและ ติดตามประเมินผล 2.กำหนดนโยบาย องค์กร 3.การติดตามผลการ ดำเนินงานเพื่อนำมา ปรับปรุง 4.จัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ 5.จัดประชุมเชิง ปฏิบัติการเพื่อกำหนด แผนการดำเนินงาน และการติดตาม ประเมินผล 6. ติดตามประเมินผล 7.ส่งเสริมสนับสนุน ด้านบุคลากร งปม. วิชาการ ต้องกำหนดเป็นวาระของ จังหวัด ทุกหน่วยงานมีนโยบาย ที่ชัดเจน คณะกรรมการ อนามัยเจริญพันธุ์ ระดับจังหวัด สสจ. อปท. ทุกหน่วยงาน ของจังหวัด 19