HPP Thailand I ถอดบทเรียนประสบการณ์ การจ่ายค่าตอบแทนตามปริมาณงาน โรงพยาบาลพาน จังหวัดเชียงรายและ โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา โดย คณะวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการจ่ายค่าตอบแทน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
รายงานการติดตามการจัดการ R3 23 พฤษภาคม น.
การประชุมOEC-4R ครั้งที่ 11/ DECEMBER 53
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
มติ ครม. เมื่อ 13 พฤษภาคม 2551 ปรับเงินค่าครองชีพ
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การบันทึกลดหย่อนภาษี(ล.ย.01) และต้นทุนกิจกรรมย่อย
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
โดย คณะวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการจ่ายค่าตอบแทน
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HPP Thailand I ถอดบทเรียนประสบการณ์ การจ่ายค่าตอบแทนตามปริมาณงาน โรงพยาบาลพาน จังหวัดเชียงรายและ โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา โดย คณะวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการจ่ายค่าตอบแทน ตามปริมาณงาน กระทรวงสาธารณสุข 24 สิงหาคม 2552 ณ ห้องประชุมโรงแรมริชมอนด์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี

สถานการณ์รายรับเงินบำรุง รพ. พาน (ตค 50 – สค 51)   รวม (บาท)  percent 1 ค่ารักษาพยาบาล 5,898,987 6.1% 2 เงิน UC โอนจาก สสจ. และ สปสช. 81,608,019 83.9% 3 ค่ารักษาพยาบาลข้าราชการ โอนจาก กรมบัญชีกลาง 5,642,065 5.8% 4 รับเงินมัดจำสัญญาจากจังหวัด 146,136 0.2% 5 รับเงินคืนสัญญาลูกหนี้เงินยืม 1,862,945 1.9% 6 รับเงินชดเชยค่าเวชภัณฑ์ 40% 193,738 7 เงินรับฝาก ภาษี หัก ณ ที่จ่าย 312,492 0.3% 8 เงินอุดหนุนเทศบาล 580,000 0.6% 9 รายได้อื่น ๆ 567,206 10 รับเงินฝากคลังจังหวัด 40,793 0.0% 11 รายได้เงินประกันสังคม 40 % 142,749 0.1% 12 รายได้โครงการผ่าตัดต้อกระจกเคลื่อนที่ 224,900 13 รับเงินค่าจ้างชั่วคราวคืน 26,392 14 รับเงินค่าตรวจสุขภาพ สสอ. พาน 43,550 รวมรายรับ 97,289,971.48 100.0%

ร้อยละของต้นทุนค่าแรงปี 2546-2551 รพ. สูงเนิน นครราชสีมา

ผลกระทบด้านบวกของนโยบาย เจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงานมีความกระตือรือล้นในการทำงานเพิ่มขึ้น มีการเก็บข้อมูลผลการปฏิบัติงาน ซึ่งช่วยสะท้อนกลับการประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองและฝ่ายต่างๆ เกิดขวัญกำลังใจและแรงจูงใจระดับหนึ่ง ผู้ปฏิบัติงานและลูกจ้าง/คนงาน ซึ่งเดิมอาจมีภาระงานค่อนข้างมากและไม่ได้รับค่าตอบแทนพิเศษอื่นใดเพิ่มเติม ฝ่ายบริหารงานทั่วไปและลูกจ้างคนงาน ในส่วนของรพ. สูงเนิน มีแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เนื่องจากมีระบบ quality point

ผลกระทบด้านบวกของนโยบาย P4P ของ รพ.พานและสูงเนิน ทำให้เกิดการทำงานเป็นทีม มีน้ำใจช่วยเหลือกันมากขึ้น สามารถทำงานแทนกันได้มากขึ้น พฤติกรรมการให้บริการของผู้ปฏิบัติงานและเจ้าหน้าที่ดีขึ้น สนับสนุนให้เกิดการสื่อสารระหว่างหัวหน้าฝ่าย/หัวหน้างาน กับลูกน้องในฝ่ายเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากถูกกำหนดให้ต้องมีการประชุมแบบ small talk ทุกเดือน อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง หัวหน้างาน/ฝ่าย สามารถบริหารจัดการและกระจายงานได้มากขึ้น เกิดความร่วมมือระหว่างสหวิชาชีพและสนับสนุนบรรยากาศการทำงานในลักษณะครอบครัวเดียวกัน

ผลกระทบด้านลบของนโยบาย มีความรู้สึกไม่ชัดเจน / ไม่เป็นธรรม ในการกำหนดค่า point ภายในฝ่ายหรือในถ้วยของตนเอง ภาระเรื่องการเก็บข้อมูลของแต่ละบุคคลและการลงข้อมูลของฝ่าย/กลุ่มงาน โดยเฉพาะฝ่ายที่มีลูกจ้าง / คนงาน จำนวนเงินยังไม่สูงมากพอให้เกิดแรงจูงใจ ในขณะที่มีภาระงานเพิ่มมากขึ้นจากการเก็บข้อมูล (รพ. สูงเนิน) การหักคะแนนของคนขาดงานเกิน 15 วันเข้ากองกลาง อาจก่อให้เกิดทัศนคติเชิงลบต่อองค์กรในกลุ่มที่ไม่เข้าใจในนโยบาย ไม่มีส่วนร่วม และไม่ได้รับการสื่อสาร / ให้ข้อมูล

ความแตกต่างของระบบ work point ระหว่าง รพ. พาน และ รพ. สูงเนิน วงเงินที่ต่างกันระหว่าง 2 โรงพยาบาล ระบบถ้วยของกลุ่มงานและฝ่ายของ รพ.สูงเนิน มี quality point เพื่อสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพ การสื่อสารและประชุมอย่างสม่ำเสมอระหว่างกรรมการแกนนำ มีการตอบสนองต่อปัญหาและข้อคำถามของผู้ปฏิบัติงาน

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ปรับปรุงการคำนวณค่า point ในบางกิจกรรมให้มีความชัดเจน และสร้างความยอมรับกับผู้ปฏิบัติงานในทุกระดับ ปรับปรุงและพัฒนาระบบการตรวจสอบ พิจารณาเพิ่มวงเงินให้เกิดการสร้างแรงจูงใจ พิจารณาการใช้ระบบ IT มาใช้ในการเก็บข้อมูล ทบทวนวิธีการดำเนินงานบางอย่าง เช่น การหักคะแนนของคนขาดงานเข้ากองกลางในบางกลุ่มงาน การเชื่อมโยงระบบ point system และตัวชี้วัดเข้ากับ vision and mission ของโรงพยาบาล

ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ (1) ปัจจัยด้านบุคคล ความชัดเจนและการสนับสนุนด้านนโยบายของผู้อำนวยการ การได้รับการยอมรับและความเป็นกลางของคณะกรรมการแกนนำ ความเข้มแข็งของหัวหน้าฝ่าย / หัวหน้างานในการคิดค้นงาน และ convince คณะกรรมการแกนนำเพื่อขยาย ปัจจัยด้านการเงิน มีฐานะทางการเงินที่เข้มแข็ง

ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ (2) ปัจจัยเชิงระบบ มีระบบการคิดคะแนนที่สามารถอธิบายได้และผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ยอมรับ มีระบบการสื่อสารทั้งในแนวราบและแนวดิ่งอย่างสม่ำเสมอ วัฒนธรรมองค์กรที่มีลักษณะเป็นครอบครัวเดียวกัน ปัจจัยภายนอก Policy ในระดับประเทศและการสนับสนุนจากส่วนกลาง

ข้อเสนอแนะเพื่อการคิดคะแนน 5 มิติ Activities Time spent Difficulties Risk กับผู้ป่วย Risk ของผู้ปฏิบัติงาน professionals A B C D E อาจให้คะแนน 1-5 ในแต่ละมิติ แล้วหาค่าคะแนนเฉลี่ย

ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากคณะผู้วิจัย มีการประชุมทีมแกนนำ (core group) อย่างสม่ำเสมอ มีการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางที่สุด ต้องมีการถ่วงดุลระหว่าง feasibility & accuracy ของการเก็บข้อมูล - อย่าขี่ช้างจับตั๊กแตน - ต้อง simplify แต่อยู่ในระดับที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ มีระบบการสนับสนุนจากส่วนกลาง และมีการสรุปบทเรียนเพื่อพัฒนานโยบายดังกล่าว โดยเฉพาะเมื่อ ตุลาคม 2553