ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยแน่น OPD. ผู้ป่วยแน่น OPD ผู้ป่วยแน่น IPD.
Advertisements

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
FPL: Family Practice Learning การฝึกปฏิบัติ โดยใช้ รพช. เป็นฐาน
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ทีมนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
สาระสำคัญในแผนพัฒนาสาธารณสุข
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
๒ ปี.... ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ. ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ. ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ๑. เพิ่มศักยภาพและขยาย บริการปฐมภูมิ
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต. โดย นพ.ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจราชการ เขต 11

ทศวรรษพัฒนาสถานีอนามัย 1.วิวัฒนาการของบริการปฐมภูมิจากโอสถสภา สู่ รพ.สต. โอสถสภา พ.ศ. 2456 พ.ศ. 2475 สุขศาลา มีแพทย์ประจำ ไม่มีแพทย์ประจำ พ.ศ.2485 สุขศาลาชั้นหนึ่ง สุขศาลาชั้นสอง พ.ศ.2485 พ.ศ.2497 สถานีอนามัยชั้นหนึ่ง สถานีอนามัยชั้นสอง พ.ศ.2495 พ.ศ.2515 ศูนย์การแพทย์อนามัยชนบท สถานีอนามัย พ.ศ.2515 พ.ศ.2525 ยกฐานะสำนักงานผดุงครรภ์เป็นสถานีอนามัยเปลี่ยนจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นเจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน พ.ศ.2517 ศูนย์การแพทย์อนามัย พ.ศ.2518 โรงพยาบาลอำเภอ นักวิชาการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ทศวรรษพัฒนาสถานีอนามัย ใหญ่,เล็ก พ.ศ.2525 โรงพยาบาลชุมชน พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเวชปฏิบัติ พ.ศ.2550 2.1 2.2 2.3 ศูนย์สุขภาพชุมชน พ.ศ.2544 จะเป็น 10 Care หรือ 20 Care ? รพ.สต. พ.ศ.2553

2. ผลผลิตที่ควรได้จากรพ.สต. 2.1 ประชาชนดูแลตนเองได้มากขึ้น (self care) ดูแลกันเองในเรื่องเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆในครอบครัว ชุมชน โรงเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ให้เสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น ออกกำลังกายมากขึ้น ควบคุมอาหารหวาน มัน เค็ม ลดแหล่งแพร่พันธ์ไข้เลือดออก ลดเหล้า บุหรี่ ลดการกินปลาดิบหรือของสุกๆดิบๆ เป็นต้น

2. ผลผลิตที่ควรได้จากรพ.สต.(ต่อ) 2.2 ลดการข้ามขั้นตอนไปใช้บริการที่โรงพยาบาล จำนวนผู้รับบริการไปรพ.น้อยลง ประชาชนมีความพึงพอใจและไว้ใจรพ.สต.มากขึ้น อัตราการรับไว้รักษาของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในรพ.ลดลง

3. ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต. 3.1 การพัฒนากำลังคน 3.2 การบริหารจัดการระดับอำเภอ 3.3 การนำหลักการของเวชศาสตร์ครอบครัว มาใช้ในการให้บริการ

4. การพัฒนากำลังคน 4.1จำนวนผู้ให้บริการที่ควรมีใน รพ.สต. ผู้ให้บริการหลัก Family med, แพทย์ทั่วไป NP RN ผู้ให้บริหารสนับสนุน นอก สธ. จพอ. สธ. พยาบาลชุมชน

4. การพัฒนากำลังคน (ต่อ) ทันตสาธารณสุข ทันตแพทย์ ทันตาภิบาล ฟื้นฟูสภาพ นักกายภาพบำบัด แพทย์แผนไทย ธุรการ การเงิน, พัสดุ, นักจัดการ

4. การพัฒนากำลังคน (ต่อ) 4.2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรใน รพ.สต. การฝึกอบรมตามหลักสูตร (Training program) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้บริบทของพื้นที่เป็นฐาน (Context based learning) การสร้างนวัตกรรมสุขภาพชุมชนของรพ.สต.ร่วมกับชุมชน

5. การบริหารจัดการระดับอำเภอ (CUP Management , District Health System คปสอ.) ผอ.รพ. + สสอ. ต้องร่วมกันทำให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น 5.1 การพัฒนาศักยภาพในการให้บริการปฐมภูมิ ตามบริบทของพื้นที่ (Context based learning) 5.2 การจัดสรรเงินอย่างเป็นธรรม

5. การบริหารจัดการระดับอำเภอ (ต่อ) 5.3 การจัดทำแผนสุขภาพตำบล และ อำเภอ 5.4 Referral System และระบบการปรึกษา 5.5 การสนับสนุนชุมชน ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการผลิตนวตกรรมสุขภาพชุมชน

5. การบริหารจัดการระดับอำเภอ (ต่อ) 5.6 กรรมการ รพ.สต. มองออกนอกกรอบของสาธารณสุข สร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน 5.7 สร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างรพ.สต. กับ รพช./รพท./รพศ. และ รพ.สต.กับชุมชน

6.การนำแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัวมาใช้ 6.1 หลักการ รู้จักและเข้าใจงาน community relationship สร้างสรรค์สุขภาพชุมชน empowerment เพิ่มผลคุณภาพ quality of care 6.2 ลักษณะ Holistic Continuity Integrated

6.การนำแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัวมาใช้(ต่อ) 6.3 กิจกรรม การรักษาโรคง่ายๆ ,โรคเรื้อรัง, ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย, EMS ดูแลผู้พิการ Rehabilitation Risk group สุขภาพจิตชุมชน การควบคุมโรค การคุ้มครองผู้ปริโภค การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

6.การนำแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัวมาใช้(ต่อ) 6.4 เครื่องมือ Home visit Family folder ข้อมูลข่าวสารชุมชน Referral system เครื่องมือศึกษาวิถีชุมชน

7.การพัฒนาบุคลากรโดยใช้บริบทของพื้นที่เป็นฐาน (context based learning) ใช้รพ.และชุมชนเป็นฐานในการเรียนรู้ เรียนในสิ่งที่ทำ ทำในสิ่งที่เรียน ใช้หระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระบวนการนิเทศงานอย่างต่อเนื่อง การฝึกอบรมระยะสั้นในโรงพยาบาลช่วงสุดสัปดาห์ การเยี่ยมบ้านร่วมกัน การเยี่ยมผู้ป่วยที่รพ.จากที่รพ.สต. Case conference

ขอบคุณครับ