PHT 631 Postharvest Handling System of Cereal Grains and Grain Legumes
School of Bioresources and Technology
PHT 631 Postharvest Handling System of Cereal Grains and Grain Legumes
2. Structure, physical and chemical properties of grains Course outline PHT 631 1 11/6/53 1. Introduction Dr. Songsin Photchanachai 1,2 18/6/53 2. Structure, physical and chemical properties of grains 3 25/6/53 3. Grain Harvesting 4 2/7/53 4. Grain processing * Threshing/Shelling * Cleaning, Grading, Milling 5 9/7/53 * Grain Drying - Equilibrium moisture content of grains - Measurement of moisture content - Drying methodology Dr. Somkiat Prusyawarakarn (Main campus) 6 16/7/53 5. Grain quality * Standard of grain quality for trade 6. Marketing and transportation * Marketing system * International trade 7 23/7/53 7. Biochemical Nutritive changes in grains * Biochemical changes in storage grains * Nutritive changes in storage grains Dr. Natta Loahakuljit
8. Postharvest machinery of cereals and grain legumes 13/8/53 30/7/53 ****Midterm Exam**** 8 6/8/53 8. Postharvest machinery of cereals and grain legumes Dr. Chao 9 13/8/53 9. Grain storage technologies Dr. Songsin Photchanachai 10 20/8/53 10. Grains storage pest * Insects and their control in stored grain A. Boosara Chankeawmanee 11 27/8/53* (3/8/53 PHT conference) 11. * Microorganism and their control * Mycotoxins Dr. Thaweerat Wijitsunthonkul 12 10/9/53 12. Packing for cereal grains and their products 13 17/9/53 13. Paper presentation and discussion 14 24/9/53 14. Study visit 15 1/10/53 ****Final Exam****
Mid-term exam 30% Final exam 30% Assignment 40% Coordinator: Asst. Prof. Songsin Photchanachai Office Hour: 08:30-17:00; Tel: 02-470-7723 E-Mail: songsin.pho@kmutt.ac.th **In a case of invited lecturers the time may be changed. 1 time is 3 periods Paper assignment and presentation are needed Evaluation Mid-term exam 30% Final exam 30% Assignment 40% Grade evaluation: A ≥ 86, B+ = 80-85, B = 75-79, C+ = 70-74
Mid-term exam 30% Final exam 30% Assignment 40% Coordinator: Asst. Prof. Songsin Photchanachai; Office Hour: 08:30-17:00; Tel: 02-470-7723 E-Mail: songsin.pho@kmutt.ac.th In a case of invited lecturers the time may be changed. 1 time is 3 periods Paper assignment and presentation are needed Evaluation Mid-term exam 30% Final exam 30% Assignment 40% Grade evaluation: A ≥ 86, B+ = 80-85, B = 75-79, C+ = 70-74 Text books are in a library of the Division, Text books are in a library of the Division, School of Architecture and the main library at the main campus. Several journals are available in the Division, the Drying room of the School of Materials and Energy, and the main library. Many can be searched via Internet. อาจารย์บุษรา จันทร์แก้วมณี (Boosara Chankeawmanee) กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ถ. พหลโยธิน จตุจักร กทม. (Tel. 02 579 5583) References can be asked from the coordinator via e-mail
Mid-term exam 30% Final exam 30% Assignment 40% Coordinator: Asst. Prof. Songsin Photchanachai; Office Hour: 08:30-17:00; Tel: 02-470-7723 E-Mail: songsin.pho@kmutt.ac.th In a case of invited lecturers the time may be changed. 1 time is 3 periods Paper assignment and presentation are needed Evaluation Mid-term exam 30% Final exam 30% Assignment 40% Grade evaluation: A ≥ 86, B+ = 80-85, B = 75-79, C+ = 70-74 Text books are in a library of the Division, Text books are in a library of the Division, School of Architecture and the main library at the main campus. Several journals are available in the Division, the Drying room of the School of Materials and Energy, and the main library. Many can be searched via Internet. อาจารย์บุษรา จันทร์แก้วมณี (Boosara Chankeawmanee) กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ถ. พหลโยธิน จตุจักร กทม. (Tel. 02 579 5583) References can be asked from the coordinator via e-mail
วัตถุประสงค์ของวิชาการ PHT 631 1. เพื่อให้ นศ. ได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเมล็ดพืชอาหารในกลุ่มธัญพืช และพืชตระกูลถั่ว 2. เพื่อให้ นศ. ได้รับความรู้และงานวิจัยใหม่ ๆ ด้านเมล็ดพืชอาหาร 3. เพื่อให้ นศ. ได้เรียนรู้ระบบการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดธัญพืช และเมล็ดพืชตระกูลถั่ว 4 . เพื่อให้ นศ. นำความรู้ที่ได้ไปจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดธัญพืช และเมล็ดพืชตระกูลถั่วอย่างมีประสิทธิภาพ 5. นำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้กับสถานการณ์ต่าง ๆ
Definition of postharvest handling system of cereal grains and grain legumes An appropriated system that need for handling grains to keep their high quality and quantity and to reduce loss and waste till they are used as proper aspects.
คำจำกัดความ 1. Grain หมายถึง “เมล็ดพืชอาหาร” นำไปบริโภค 2. Seed หมายถึง “เมล็ดพันธุ์พืช” ใช้ในการขยายพันธุ์ 3. Cereal หมายถึง เมล็ดธัญญาหาร เมล็ดพืชอาหารที่ให้สารอาหารคาร์โบไฮเดรตเป็นหลัก (แป้ง) เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวฟ่าง ข้าวไรน์ และ ข้าวบาร์เลย์
คำจำกัดความ 4. Grain-Legumes หมายถึง พวกถั่วทุกชนิด เช่น ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วแดงหลวง ถั่วลันเตา และถั่วแระ 5. Loss หมายถึง การสูญเสียหรือการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี ทำให้เสียคุณภาพทางอาหาร และโภชนาการ 6. Waste หมายถึง การสูญเสียที่มนุษย์ทำให้เกิดขึ้น
6. Food ใช้เรียก อาหารสำหรับมนุษย์ 7. Feed ใช้เรียก อาหารสำหรับสัตว์
Related subjects Postharvest Tech. of Seeds Crop physiology Drying technology Agricultural machinery Fungi, Toxicology and their control Cereal Chemistry Insect pest and their control Packing and Transportation Marketing
Related journals J. of Toxicology J. of Cereal Chemistry J. of Radiation Physic and Chem. J. of Cereal Sci. J. of Drying Tech. J. of Agri Food Chem J. of Stored product res. J. of Food Sci
Search engines www.SciDirect.com Main Library:- scopus, sprinklelink. ect. www.en.wikipedia.org www.google.com www.ncbi.nlm.nih.gov/sites/entrez?db=pubmed
สาเหตุที่ต้องมีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพืช เนื่องจากเมล็ดพืชเป็นสิ่งที่มีชีวิต เกิดความสูญเสียทั้งด้านปริมาณ และคุณภาพ ภายหลังการเก็บเกี่ยว - กระบวนการจัดการ เช่น การเก็บเกี่ยว การอบแห้ง การสี การทำความสะอาด - ขบวนการทางชีวเคมีต่าง ๆ ภายในเมล็ดพืช - สภาพแวดล้อม - ศัตรูโรงเก็บ เช่น แมลง นก หนู เชื้อจุลินทรีย์
วัตถุประสงค์ของการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพืช * เพื่อลดการลดการสูญเสียของเมล็ดพืชในด้านปริมาณคุณภาพขณะการปฏิบัติการต่าง ๆ * เพื่อทราบวิธีการในการเก็บรักษาเมล็ดให้เหมาะสม * เพื่อสามารถเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมกับเมล็ดพืชนั้น ๆ * ทราบวิธีเก็บเกี่ยวการลดความชื้น ทำความสะอาด ได้อย่างเหมาะสม และประหยัดค่าใช้จ่าย
วัตถุประสงค์ของการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพืช * ทราบศัตรูของเมล็ดพืชที่เกิดขึ้นกับเมล็ดการเก็บเกี่ยว * ทราบการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของเมล็ดพืชในระหว่างการเก็บรักษา * ทราบวิธีการลดการสูญเสียของเมล็ดทั้งด้านปริมาณ และโภชนาการ * ทราบวิธีการขนส่ง การบรรจุหีบห่อ และการตลาดของเมล็ดพืช * เพื่อทราบขบวนการปฏิบัติที่ประหยัดและต้นทุนต่ำที่สุด * ทราบแนวทางการเพิ่มราคาให้กับเมล็ดพืช
3. จงบอกวัตถุประสงค์ในการเรียนวิชา PHT 631 มาเป็นข้อ ๆ คำถาม 1. วัตถุประสงค์ของการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพืช มีอะไรบ้าง 2. ท่านคิดว่าการเรียนวิชา PHT 631 สามารถนำไปใช้ในการเพิ่มรายไดเของเกษตรกรได้หรือไม่ อย่างไร 3. จงบอกวัตถุประสงค์ในการเรียนวิชา PHT 631 มาเป็นข้อ ๆ