ความเป็นมา นโยบายความมั่นคงปลอดภัยสำหรับสำนักคอมพิวเตอร์ มาตรฐานการดำเนินงานของสำนักคอมพิวเตอร์ วิสัยทัศน์ของสำนักคอมพิวเตอร์ แผนปฏิบัติการกองทุน มสธ. 12 ปี
โครงการสัมมนาและศึกษาดูงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักคอมพิวเตอร์ ได้รับการสนับสนุนจากกองทุน มสธ. 12 ปี ประจำปีงบประมาณ 2553
ณ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ช่วงที่ 1 การให้ความรู้แก่บุคลากรสำนักคอมพิวเตอร์ หัวข้อ Services Science และ CMMI for Services ช่วงที่ 2 การศึกษาดูงานด้านการประกันคุณภาพมาตรฐาน ISO ณ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ช่วงที่ 3 การศึกษาดูงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ณ ประเทศสิงคโปร์
แนวความคิดการให้บริการของสังคม สังคมมนุษย์เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ยุคเร่ร่อน ยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม การทำธุรกิจของมนุษย์เปลี่ยนแปลง ระบบแลกเปลี่ยน การใช้เงินเป็นสื่อกลาง การทำการค้าเล็กๆ การขายขนาดใหญ่ การผลิตในอุตสาหกรรม การขายแบบกระจายสินค้า การขายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
ความต้องการบริการของสังคมไทย ในอดีตอยู่กันอย่างพอเพียงทำทุกอย่างที่ต้องการได้เอง เมื่อสังคมเปลี่ยนแปลงใช้เงินเป็นสื่อกลางผู้ต้องการบริการ ต้องใช้เงินเป็นสิ่งตอบแทน ปัจจุบันการบริการเป็นอุตสาหกรรมอย่างหนึ่ง งานบริการด้าน IT มีส่วนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน สังคม ต้องพึ่งพาอาศัยบริการผ่าน WEB มากขึ้น
ปัญหาและความท้าทายของหน่วยงาน IT 1. งบประมาณมีจำกัด 2. บุคลากรที่มีความสามารถมีจำกัด 3. เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก 4. ขาดการประสานระหว่างหน่วยงานภายใน 5. ขาดมาตรฐานกลาง 6. นักศึกษาต้องการใช้ IT ทุกแห่งทุกเวลา 7. การเปลี่ยนแปลงระเบียบต่าง ๆ 8. ขาดกระบวนการทำงานที่ชัดเจน
กระบวนการ คือ รากฐานของมาตรฐาน ISO 27001 มาตรฐานจัดการระบบความมั่นคง CMMI CMMI for Services มาตรฐานการให้บริการต่าง ๆ
รศ.ดร.สฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร กระบวนการทำงานของสำนักคอมพิวเตอร์ Project Manager รศ.ดร.สฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร Document Control Centre (DCC) 1. นางวิกานดา ดุสิตา 2. น.ส.วรัมภา จินาทอง Project Coordinator นางอรอนงค์ อมรพินิจ Incident Management 1. น.ส.เพ็ญศิริ ศิวิโรจน์ 2. นายพัฒนพงษ์ โชคถาวร * 3. น.ส.ศิวาพร รุขชาติ 4. นายอำนาจ ธรรมกิจ 5. นายปรีชา ยามันสะบีดีน Problem Management 1. ดร.ทนงศักดิ์ ศิริรัตน์ 2. นางภัทราวดี บัตรประทาน * 3. นายเสกสรรค์ ปิ่นเจริญ 4. น.ส.ระพีพรรณ แก้วประทุม 5. นายกันตินันท์ แสงวัฒนรัตน์ Configuration Management 1. นางสุนทรี ศรีสวรรค์ 2. น.ส.ระพีพรรณ แก้วประทุม * 3. นางกัญจน์นิกข์ ธนาบริบูรณ์ 4. น.ส.ผุสดี เชื้อผู้ดี 5. นายเสกสรรค์ ปิ่นเจริญ 6. นายพัฒนพงษ์ โชคถาวร 7. นางวัลลภาภรณ์ มัสอูดี Change Management 1. นายสุนทร วังเมือง 2. นายเสกสรรค์ ปิ่นเจริญ * 3. นายวุฒินันท์ พลโลก Information Security Management 1. นางวัชราภรณ์ สังขกนิษฐ 2. น.ส.สุภวรรณ เลิศสถากิจ * 3. นางวัลลภาภรณ์ มัสอูดี 4. นายกันตินันท์ แสงวัฒนรัตน์ 5. น.ส.ศศิธร สายนภา 6. นางจารุวรรณ คงคากุล
ผลที่ได้รับจากการดำเนินโครงการ 1. บุคลากรของสำนักคอมพิวเตอร์ได้รับความรู้เกี่ยวกับ วิทยบริการ และมาตรฐานการจัดการด้าน ICT 2. บุคลากรของสำนักคอมพิวเตอร์ได้นำความรู้ และ ประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษาดูงานนำไปพัฒนางานของ สำนักให้สอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการจัดการ ด้าน ICT 3. สำนักคอมพิวเตอร์ได้สร้างชุมชนนักปฏิบัติ ให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ปัจจุบันวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยมุ่ง สู่องค์กรชั้นนำ มีการนำเทคโนโลยี สารสนเทศทุกกระบวนงาน ดังนั้น มหาวิทยาลัยควรเปิดโอกาสให้บุคลากร ของสำนัก ได้เข้าไปมีส่วนร่วมใน การศึกษาดูงานร่วมกับมหาวิทยาลัยด้วย
วิสัยทัศน์ เป็นศูนย์กลางการบริการด้านคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย พันธกิจ 1. พัฒนาและให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีแก่มหาวิทยาลัย 2. พัฒนาและให้บริการระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานบริหาร บริการ และวิชาการของมหาวิทยาลัย 3. พัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยให้สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัย ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย