โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐาน ทางการเรียนของนักศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
V-NET คืออะไร V-NET ย่อมาจาก Vocational National Education Test หมายถึงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ทางด้านอาชีวศึกษา เป็นการทดสอบวัดความรู้มาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพ.
COE เว็บปรับแต่งสำหรับศูนย์วิจัยและพัฒนา ระบบสุขภาพชุมชน Creation of Custom-built Web of CRDCH Research Center นายสุรศักดิ์ แสงเพชร รหัสนักศึกษา.
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
บริการข้อมูลออนไลน์จากศูนย์สารสนเทศนานาชาติ
การเขียนบันทึก.
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
COE เว็บปรับแต่งสำหรับศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
รายละเอียดของการทำ Logbook
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
การศึกษารายกรณี.
ADDIE model หลักการออกแบบของ
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
- ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน สามารถต่ออินเตอร์เน็ตได้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
ระบบข้อสอบออนไลน์.
Management Information Systems
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การให้บริการพื้นที่เว็บไซต์และโฮสเนม (Website Hosting Service) สำหรับหน่วยงานและบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย ภายใต้โดเมน psru.ac.th โดย นายพิสุทธิ์ ธิแก้ว.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
คอมพิวเตอร์สำหรับ นักศึกษาบัณฑิต (Computer for Graduate Students)
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
หมวดที่ 2 การลงทะเบียนเรียน
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สำหรับนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ADDIE Model.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
การสร้างสื่อ e-Learning
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐาน ทางการเรียนของนักศึกษา รศ.ดร. จินตนา ธนวิบูลย์ชัย หัวหน้าโครงการ รศ.ดร.สิริรัตน์ วิภาสศิลป์ อ.ดร.สุนิสา จุ้ยม่วงศรี นายชูศักดิ์ ศิริรุ่งพันธ์

ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ ปี 2543 มหาวิทยาลัยมีนโยบายให้วัด ความสามารถพื้นฐานของนักศึกษาใหม่ จัดสอบวันปฐมนิเทศนักศึกษา ปี 2548 ส่งแบบทดสอบทางไปรษณีย์

ปี 2550 แนวคิดสนองนโยบายมหาวิทยาลัย อิเล็กทรอนิกส์ ทำให้นักศึกษาเข้าสอบได้สะดวกทุกเวลา ทุกสถานที่ และทราบผลการสอบทันที นักศึกษาจะทราบแนวโน้มความสำเร็จในการศึกษา และข้อบกพร่องในการพัฒนาตนเอง มหาวิทยาลัยเห็นแนวทางการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้

วิธีดำเนินงาน กำหนดคุณลักษณะสำคัญ การออกแบบโปรแกรม การพัฒนาโปรแกรม

การกำหนดคุณลักษณะสำคัญ ศึกษาสภาพการทดสอบปัจจุบัน ศึกษาการประเมินผลผ่านระบบออนไลน์ กำหนดคุณลักษณะสำคัญของระบบ ทดสอบตามความต้องการของนักศึกษา สร้างข้อสอบไว้ในระบบคลังข้อสอบ สร้างแบบทดสอบโดยการสุ่ม ตรวจให้คะแนนอัตโนมัติ / บันทึกผลสอบ กำหนดลักษณะของระบบ 4 ระบบ และระบบย่อย (ระบบจัดการแบบทดสอบ ระบบการสอบ ระบบจัดการผลสอบ ระบบรักษาความปลอดภัย)

การออกแบบโปรแกรม ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ของ ทั้ง 4 ระบบ การพัฒนาโปรแกรม ระบบการสร้างข้อสอบ Windows Base ระบบสอบ Web Base

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม 1. ศึกษาการเขียนโปรแกรมบนเว็บ / สร้างหน้าจอ 2. คณาจารย์สร้างข้อสอบและใช้ข้อสอบจากคลังข้อสอบบางส่วน ด้านละ 4 ฉบับ ๆ ละ 20 ข้อ / กำหนดเกณฑ์การแปลความหมาย 3. บันทึกข้อสอบที่เป็นข้อความด้วย Microsoft Word ข้อสอบสมการ รูปภาพ กราฟ ตาราง ฯลฯ ใช้โปรแกรมเฉพาะ 4. สร้างแบบสอบถาม 5. นำโปรแกรมขึ้นเว็บไซต์มหาวิทยาลัย / ประชาสัมพันธ์ 6. ทดลองครั้งที่ 1 / ปรับปรุงแก้ไข 7. ประชาสัมพันธ์ /ทดลองครั้งที่ 2 8. สรุปผลการศึกษาโปรแกรม

ผลการทดลองใช้โปรแกรมครั้งที่ 1 ด้าน ระดับความคิดเห็นภาพรวม การเข้าสู่ระบบ มาก การจัดการระบบสอบ การออกแบบโปรแกรม ระดับความคิดเห็นปานกลาง เมื่อเข้าสู่ Web Site แล้วระบบขัดข้องบ่อยครั้ง จนสามารถเรียกข้อความช่วยเหลือได้เพียงพอ

ผลการทดลองใช้โปรแกรมครั้งที่ 2 ด้าน ระดับความคิดเห็นภาพรวม การเข้าสู่ระบบ มาก การจัดการระบบสอบ การออกแบบโปรแกรม ระดับความคิดเห็นปานกลาง เมื่อเข้าสู่ Web Site แล้วระบบขัดข้องบ่อยครั้ง สามารถโต้ตอบกับระบบได้อย่างสะดวก

ปัญหาการทดลองใช้โปรแกรมครั้งที่ 1 การแก้ไข นักศึกษาไม่เปิด E-mail ติดต่อทางโทรศัพท์/วางแผนประชาสัมพันธ์ ไม่มีการยืนยันการส่งข้อสอบ ปรับโปรแกรมให้มีการยืนยัน แบบทดสอบฉบับที่ 4 ไม่ถูกสุ่ม แก้ไขวิธีการสุ่ม นักศึกษาไม่สามารถสมัครซ้ำ ปรับโปรแกรม สมัครและสอบทันทีไม่ได้ ปรับช่วงเวลาสมัครสอบให้สมัครและสอบได้ คำชี้แจงและแบบสอบถามไม่ชัดเจน ปรับคำชี้แจงและแบบสอบถาม การแปลความหมายไม่สมบูรณ์ แปลความหมายให้สมบูรณ์ชัดเจน

ปัญหาการทดลองใช้โปรแกรมครั้งที่ 2 การแก้ไข เวลาการประชาสัมพันธ์สั้น วางแผนประชาสัมพันธ์อย่างเป็นระบบ นักศึกษาสมัครแล้วไม่เข้าสอบ ชี้แจงให้เห็นความสำคัญ เข้าทดสอบไม่ครบ 3 ด้าน เน้นความสำคัญของการทดสอบครบ ระบบไม่อนุญาตให้ทำต่อ ปรับข้อบกพร่องของโปรแกรม นักศึกษาสงสัยเฉลย ได้ตรวจสอบและอธิบายนักศึกษา

สรุป ผู้เข้าใช้ระบบสามารถเข้าใช้ได้ สามารถดำเนินการได้ตามที่วิเคราะห์ระบบไว้ ผู้เข้าใช้ระบบสามารถเข้าใช้ได้ สามารถปรับปรุงแก้ไข Windows Application Configuration ได้ การสร้างข้อสอบที่เป็นรูปภาพ สมการทางคณิตศาสตร์ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ ต้องใช้โปรแกรมเฉพาะและเวลา การเข้าสู่เว็บไซต์ยังมีความขัดข้องบ้าง การพัฒนาโปรแกรมนี้ต้องใช้เวลา และความพยายามสูง

ข้อเสนอแนะ ควรพัฒนาโปรแกรมการทดสอบอย่างต่อเนื่อง ควรพัฒนา Server ของมหาวิทยาลัยให้มีความพร้อม ควรพัฒนาระบบการสอบผ่านออนไลน์ ควรทำการประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาเข้ามาใช้ ควรใช้เป็นแนวทางในการประเมินผลสอบ ชุดวิชาแบบ Formative สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการให้บริการ สำหรับประชาชนทั่วไป