โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น
การเจริญเติบโตของมนุษย์
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพี่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เรื่อง กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โครงงานสุขศึกษา กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพ ที่ดี
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับ
การเจริญเติบโตของร่างกาย
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
วิธีการลดน้ำหนัก ด.ช.พีรณัฐ บุญชื่น ม.3/3 เลขที่ 20 เสนอ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี กลุ่ม Startdy รายชื่อสมาชิก ด.ช.ตรีเชษฐ์ สุริย์ฉาย เลขที่ 12 ด.ญ.พชรภรณ์ เกตเพชร เลขที่ 29 ด.ญ.วรรณา ตั้งวงษ์เลิศ เลขที่ 39 ด.ญ.สุวนัน ศรีอารัน เลขที่ 48 ด.ช.อาทินันท์ แสงวงศ์ เลขที่ 50

บทที่1 ปัญหาและสาเหตุ  ด.ช. ตรีเชษฐ์  :   ค่อนข้างสมส่วน สาเหตุ อาจเป็นเพราะออกกำลังกายสม่ำเสมอร่างกายจึงสมส่วนและทำให้มีส่วนสูงที่เพิ่มขึ้น   ด.ญ.พชรภรญ์  :   ค่อนข้างท้วม สาเหตุ อาจเป็นเพราะรับประทานอาหารมากเกินไปและไม่ค่อยได้ออกกำลังกายจึงทำให้มีน้ำที่เพิ่มขึ้น  ด.ญ.วรรณณา  :    ค่อนข้างท้วม สาเหตุ อาจเป็นเพราะควบคุมการรับประทานอาหารไม่ได้มากนักจึงทำให้น้ำหนักลดไม่ตามความต้องการ  ด.ญ.สุวนัน    :      (  ไม่มีข้อมูล )   ด.ช.อาทินันท์   :   ค่อนข้างสมส่วน  สาเหตุ อาจเป็นเพราะออกกำลังกายสม่ำเสมอ   ทานอาหารที่มีประโยชน์  ร่างกายจึงมีการพัฒนาที่ดีขึ้น

บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย เช่น ความสูงและน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเร็ว แขนขายาวขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ พ่อและแม่หรือผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดควรทราบ จะได้ไม่รู้สึกว่าบุตรหลานของตนเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเป็นคนที่ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย 1.  การรับประทานอาหารเช้า  รับประทานอาหารมื้อหลักให้ครบ 3 มื้อ และครบ 5 หมู่    ในแต่ละวัน  อาหารมื้อเช้าเป็นมื้อที่สำคัญของวัยเรียนเพราะอยู่ในวัยเจริญเติบโตและสมองต้องใช้พลังงานในการเรียนรู้ตลอดทั้งวัน  นักเรียนจึงไม่ควรงดอาหารเช้า 2.  การดื่มนม ดื่มนมวันละ 1-2 แก้ว (แก้วละ  200 ซีซี) เป็นประจำ เพราะนมมีคุณค่าทางโภชนาการสูง  3.  การออกกำลังกาย ออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาเป็นเวลาอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน อย่างต่อเนืองเป็นประจำ จะทำให้ร่างกายแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย และที่สำคัญ  จะช่วยให้ร่างกายสูงใหญ่ เสริมความแข็งแรงของกระดูก กล้ามเนื้อ   และจิตใจร่าเริงแจ่มใส

บทที่3 วิธีดำเนินงาน 1. แบ่งงานต่างๆให้สมาชิกในกลุ่มได้รับผิดชอบ 2. ให้สมาชิกแต่ละคนชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทุกๆวันพุธ 3. ให้สมาชิกในกลุ่มจดข้อมูลต่างๆของร่างกาย 4. ให้สมาชิกในกลุ่มออกกำลังกายและรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในปริมาณที่พอเหมาะ

บทที่4 ผลการดำเนินงาน ชื่อสมาชิก นน.ลส. 5/12/12 12/12/12 19/12/12 26/12/12 2/1/13 9/1/ 12 16/1/ 13 23/1/ ตรีเชษฐ์ ลส. 45/152 44/153 47/155 45/155 45/156 45/157 43/157 45/158 พชรภรณ์ นน. 62/158 60/159 61/160 63/160 62/161 60/162 วรรณา 40/145 38/145 39/145 37/145 สุวนัน 42/154 43/154 43/155 41/155 40/155 -/- อาทินันท์ 46/152 47/153 47/154 46/155 46/156 ชื่อสมาชิก น้ำหนัก ส่วนสูง อ่อนตัว ดันพื้น ลุกนั่ง วิ่ง 800 ม. ตรีเชษฐ์ 45/45 152/158 6/10 24/25 33/34 4.17/ พชรภรณ์ 62/60 158/162 3/5 32/35 -/23 7.40/ วรรณา 40/37 145/145 6/2 36/31 38/30 5.34/ สุวนัน 42/- 154/- 10/- 46/- 4.28/ อาทินันท์ 46/45 152/157 3/2 30/32 40/45 5.58/

บทที่5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน ผลสำเร็จ เพราะคนที่เริ่มอ้วนมีน้ำหนักลดลง เนื่องจากมีการทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง ไม่สำเร็จเป็นบางส่วน เพราะอาจเป็นเพราะรับประทานอาหารมากเกินไปและไม่ค่อยได้ออกกำลังกายจึงทำให้มีน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น

สรุป/บรรณานุกรม 2. สำนักพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา  1.ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์  2. สำนักพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา  3. www.psyclin.com  4. thaigoodview.com/