การแสดงภาพสามมิติ จัดทำโดย ด.ญ.ญาณตา สมาภาคย์ เลขที่24

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
เทคนิคการถ่ายภาพ คณะกรรมการจัดการความรู้ กองกิจการนักศึกษา.
การใช้งานเครื่องถ่าย
การออกแบบ Laptop Cover
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
การกำหนดสีของตัวอักษร การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
Creative Thinking : ความคิดสร้างสรรค์
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
Display 3D Without Glasses
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอ นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอ ภายใต้การนำและนวตกรรมของท่านประธาน Miguel Martin N. Moreno II, M.D.
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
Mind Mapping.
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection)
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
การสร้างแบบเสื้อและแขน
พีระมิด.
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
เทคนิควิธี การซ้อนภาพให้ดูเนียน ด้วย โปรแกรม PhotoShop
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ความหมายของแอนิเมชัน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
องค์ประกอบของวรรณคดี
บทที่8 การเขียน Storyboard.
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
แบบฝึกการเล่นลูกมือล่างสำหรับผู้หัดเล่นวอลเลย์บอล
AR CODE.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
ผังงาน (Flow chart).
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแสดงภาพสามมิติ จัดทำโดย ด.ญ.ญาณตา สมาภาคย์ เลขที่24 ด.ญ.ญาณตา สมาภาคย์ เลขที่24 ด.ญ.ปิยธิดา เทพฝอย เลขที่ 29 ด.ญ.อรวรรณ อินทรสุวรรณ์ เลขที่ 36 ด.ญ.อัจจิมา พุมมาจันทร์ เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/13 โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี จังหวัดราชบุรี

รูปภาพแสดงการมองหน้าจอสามมิติผ่านแว่นตาสามมิติ การแสดงภาพสามมิติ รูปภาพแสดงการมองหน้าจอสามมิติผ่านแว่นตาสามมิติ

การถ่ายภาพ 3 มิติ การถ่ายภาพสามมิติ หรือ 3-D imaging หมายถึง เทคนิคใดก็ได้ที่สามารถเก็บข้อมูลภาพเป็นสามมิติหรือที่สามารถสร้างภาวะลวงตาให้เห็นความลึกของภาพนั้นได้ ภาพสองมิติอื่นๆ สร้างได้ด้วยวิธีทำเป็นภาพ 2 ภาพที่มีความแตกต่าง การสร้างภาพ3 มิติประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกโดยเซอร์ ชาร์ล วีทสโตน เมื่อ พ.ศ. 2381

เทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ เป็นการนำภาพ ๒ มิติมาแสดงผล โดยมีเทคนิคการแสดงภาพที่ทำให้ตาข้างซ้ายและตาข้างขวามองเห็นภาพของวัตถุเดียวกันในมุมมองที่แตกต่างกัน ส่งผลให้สมองตีความเป็นภาพที่มีความลึก ตัวอย่างเทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ มีดังนี้

การแสดงภาพแบบแอนะกลิฟ (anaglyph) เป็นการฉายภาพสำหรับตาซ้ายและตาขวาที่มีโทนสีที่แตกต่างกันลงบนฉากรับภาพเดียวกัน โทนสีที่ใช้มักจะเป็นสีแดงและน้ำเงิน

การแสดงภาพแบบแอ็กทิฟชัตเตอร์ (active shutter)

การแสดงภาพแบบแอ็กทิฟชัตเตอร์ (active shutter) ต้องแสดงภาพสำหรับตาซ้ายและตาขวาสลับกันไปจนครบ 120 ภาพ ใน 1 วินาที ตาข้างซ้ายและขวาจึงเห็นข้างละ 60 ภาพใน 1 วินาที ซึ่งเป็นความถี่ขั้นต่ำที่ทำให้ไม่รู้สึกว่าภาพสั่น การฉายภาพลักษณะนี้ต้องใช้แว่นตาแอ็กทิฟชัตเตอร์ช่วยในการมองเห็นภาพ

การแสดงภาพแบบพาราแลกซ์บาร์เรีย (paralax barrier)

การแสดงภาพแบบพาราแลกซ์บาร์เรีย (paralax barrier) มีชั้นกรองพิเศษ ทีเรียกว่า ‘พาราแลกซ์บาร์เรีย’ ในการแบ่งภาพให้ตาแต่ละข้างที่มองผ่านชั้นกรองนี้เห็นภาพที่แตกต่างกัน แล้วสมองจะรวมภาพจากตาซ้ายและตาขวาที่มีมุมมองต่างกันนี้ให้เป็นภาพเดียวกัน ทำให้เรามองเห็นเป็นภาพ ๓ มิติ

ตัวอย่างภาพ 3 มิติ

THE END FOR PRESENT.