งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม Signals and Systems สัปดาห์ที่1 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์

2 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University
สัญญาณ ระบบ และการประมวลผลสัญญาณ สัญญาณ ปริมาณทางฟิสิกส์ที่แปรค่าตามตัวแปรอิสระอย่างเช่น เวลา คณิตศาสตร์ สัญญาณเป็นฟังก์ชันของตัวแปรอิสระ , Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

3 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University
สัญญาณที่ไม่สามารถเขียนในรูปฟังก์ชันของตัวแปรอิสระ สัญญาณเสียงพูด (speech) สัญญาณภาพ (video signal) สัญญาณคลื่นหัวใจ (ECG :electrocardiogram signal) สัญญาณคลื่นสมอง (EEG : electroencephalogram signal) บางช่วงเวลาเขียนในรูปผลรวมของสัญญาณรูปไซน์ ขนาด ความถี่ เฟสที่แตกต่างกันได้ Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

4 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University
ระบบ อุปกรณ์ทางฟิสิกส์หรืออะไรก็ได้ที่นำมารวมกันแล้วทำหน้าที่จัดการสัญญาณ การจัดการสัญญาณของระบบเรียกว่า การประมวลผลสัญญาณ (signal processing) ตัวกรอง (filter) ใช้ลดสัญญาณรบกวน (noise) ที่แทรกเข้าในสัญญาณข้อมูล ตัวขยาย (amplifier) ระบบที่ทำหน้าที่ขยายขนาดของสัญญาณข้อมูล Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

5 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University
การแบ่งประเภทสัญญาณ สัญญาณแบบหนึ่งมิติ สัญญาณแบบหลายช่องและแบบหลายมิติ การสั่นสะเทือนของชั้นหินของโลกในแนวตั้ง การสั่นสะเทือนของชั้นหินของโลกแนวขวาง สัญญาณสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว การสั่นสะเทือนบริเวณผิวโลก Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

6 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University
สัญญาณแบบเวลาต่อเนื่องและแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง สัญญาณแบบเวลาต่อเนื่อง (continuous-time signal) สัญญาณที่มีค่าของฟังก์ชันเกิดขึ้นได้ที่ทุกค่าของเวลา สัญญาณเสียงพูด สัญญาณภาพ สัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง (discrete-time signal) สัญญาณที่มีค่าของฟังก์ชันเกิดขึ้นได้ที่บางค่าของเวลาเท่านั้น , เป็นจำนวนเต็ม Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

7 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University
การสร้างสัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง การสุ่ม (sampling) เลือกค่าของสัญญาณอนาลอกที่บางค่าเวลา เช่นทุกๆ 1 วินาที โดยการสะสมตัวแปรทุกๆช่วงคาบเวลาที่กำหนด การนับจำนวนรถที่ผ่านถนนเส้นหนึ่งทุกๆหนึ่งชั่วโมง ดัชนีตลาดหุ้นรายวันและราคาทองคำรายวัน Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

8 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบประมวลผลสัญญาณ Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

9 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University
ตัวสุ่ม (sampler) เปลี่ยนสัญญาณเวลาต่อเนื่องหรือสัญญาณอนาลอกเป็นสัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง ทำการสุ่มค่าของสัญญาณแบบเวลาต่อเนื่องที่บางค่าเวลาเท่านั้น , คือช่วงเวลาในการสุ่ม ตัวควอนไทซ์ (quantizer) เปลี่ยนขนาดของสัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่องให้มีระดับของขนาดจำนวนจำกัด ให้เกิดความเหมาะสมในการนำไปเข้ารหัส Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University

10 Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University
ตัวเข้ารหัส (coder) นำแต่ละระดับของสัญญาณที่ได้จากการควอนไทซ์มาเข้ารหัสเลขฐานสอง เป็นสัญญาณดิจิตอลเป็นอินพุตให้กับตัวประมวลผลสัญญาณแบบดิจิตอล สัญญาณอนาลอก สัญญาณที่เวลาต่อเนื่องและระดับของขนาดต้องต่อเนื่องด้วย สัญญาณแบบเวลาต่อเนื่อง สัญญาณที่เวลาต่อเนื่องส่วนขนาดจะต่อเนื่องหรือไม่ก็ได้ สัญญาณดิจิตอล สัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่องที่มีระดับของขนาดจำนวนจำกัด สัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง สัญญาณที่เวลาไม่ต่อเนื่องและระดับของขนาดไม่จำกัด Asst.Prof.Wipavan Narksarp, Siam University


ดาวน์โหลด ppt ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google