สถานการณ์ระบบข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดลำพูน (The situation of Health Information system of the Elders : Lampoon Province)
ที่มาของปัญหา จังหวัดลำพูน หรือเดิมเรียกว่า "นครหริภุญไชย" มีอายุการก่อสร้างเมืองเป็นเวลา 1300 ปีเศษ เป็นแหล่งรวม ประเพณีวัฒนธรรม ล้านนา โบราณสถานอันเก่าแก่ และแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติอันสวยงาม มีทรัพยากร ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม มีลำไย และกระเทียม อีกทั้งยังมี ความสามารถในการผลิตหัตถกรรมที่ต้องใช้ ศิลปะและฝีมือที่ปราณีต ละเอียดอ่อน นอกจากนี้ จังหวัดลำพูน ยังได้ชื่อว่าเป็นเมืองอุตสาหกรรมที่สำคัญของภาคเหนือ ....
ที่มาของปัญหา จังหวัดลำพูนแบ่งเขตการปกครองเป็น 7 อำเภอ 1 กิ่งอำเภอคือ 1. อำเภอเมืองลำพูน 2. อำเภอป่าซาง 3. อำเภอบ้านโฮ่ง 4. อำเภอแม่ทา 5. อำเภอลี้ 6. อำเภอทุ่งหัวช้าง 7. อำเภอบ้านธิ 8. กิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง 51 ตำบล 542 หมู่บ้าน
การสาธารณสุข โรงพยาบาล 7 แห่ง สถานีอนามัยขนาดใหญ่ 14 แห่ง หน่วยงานรัฐ สถานีอนามัยทั่วไป 57 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล 1 แห่ง โรงพยาบาล 3 แห่ง หน่วยงานเอกชน คลินิก 62 แห่ง สถานพยาบาลผด. 44 แห่ง/เวชกรรม 6 แห่ง
สถิติประชากรผู้สูงอายุ ภาคเหนือ 3 จังหวัด กะเหรี่ยง 6. 54 % จังหวัด ชาย หญิง รวม ผู้สูงอายุ ลำพูน 197,719 207,438 405,157 13.7 % ลำปาง 380,361 390,252 770,613 11.8 % เชียงใหม่ 817,524 846,875 1,664,399 12.8 %
สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ กรอบแนวคิด กรอบแนวคิด ภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ข้อมูลสุขภาพ สวัสดิการ และสังคมเศรษฐกิจ การบริการสุขภาพ สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
ปัญหาและความต้องการของระบบข้อมูลสุขภาพ Scope ของการศึกษา ประเภท ของข้อมูล แหล่งที่มา ของข้อมูล การจัดเก็บ การใช้ข้อมูล การไหลเวียน ของข้อมูล ปัญหาและความต้องการของระบบข้อมูลสุขภาพ
วิธีการศึกษา หน่วยงานด้านสุขภาพ ระดมสมอง สัมภาษณ์ ดูงาน ทบทวนเอกสาร Key Informants หน่วยงานด้านสุขภาพ สาธารณสุขอำเภอแม่ทา ศูนย์สุขภาพชุมชน ร.พ.แม่ทา ศูนย์สุขภาพชุมชน ตำบลทาปลาดุก / ทาป่าสัก ระดมสมอง สัมภาษณ์ หน่วยงานการปกครอง องค์การบริหารส่วนตำบลทาสบเส้า ชมรมผู้สูงอายุหมู่บ้านทาล่องเรือ อ.แม่ทา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่บ้านจำตาเหิน อ.แม่ทา ดูงาน
ผลการศึกษา : ภาวะสุขภาพ ประเภท ของข้อมูล แหล่งที่มา การจัดเก็บ การใช้ข้อมูล การไหลเวียน ของข้อมูล เอกสาร
http://i.lamphun.go.th/45manage
จัดทำฐานข้อมูลเฉพาะผู้สูงอายุ โดยมีการจัดทำดัชนีชี้วัดที่ไม่มากเกินไป ข้อเสนอแนะจากภาคี จัดทำฐานข้อมูลเฉพาะผู้สูงอายุ โดยมีการจัดทำดัชนีชี้วัดที่ไม่มากเกินไป