การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การวิจัย RESEARCH.
Thesis รุ่น 1.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
Management Information Systems
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและสร้างความ พึงพอใจแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ๒. เพื่อให้หน่วยให้ความสำคัญกับการวัดความพึงพอใจ.
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
การศึกษาความพึงพอใจของ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
การเขียนรายงานการวิจัย
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
ปิยมาภรณ์ เหมืองทอง ครูประจำภาควิชาบริหารธุรรกิจ
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand

วัตถุประสงค์ของโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพของผู้สูงอายุไทยโดยศึกษานำร่องในจังหวัดลำพูน

วิธีดำเนินโครงการ 1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุทั้งในประเทศและต่างประเทศ (review literature) แล้วนำผลการศึกษามาสังเคราะห์เป็นภาพรวมของตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ 2) นำตัวชี้วัดทั้งหมด ที่สังเคราะห์ได้มาจากข้อ 1. มาสร้างแบบสอบถาม 3 ชุดแล้วนำแบบสอบถามทั้งหมดไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา 3) คัดเลือกตัวชี้วัดที่ได้ และได้ทำการรวมตัวชี้วัดบางตัวและแยกตัวชี้วัดบางตัวเพื่อให้ครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการวัด และสามารถตรวจสอบได้ง่ายขึ้น พร้อมทั้งได้ปรับปรุงภาษาในแต่ละตัวชี้วัดเพื่อให้เหมาะสม 4) ส่งแบบสอบถามรายการตัวชี้วัด 3 ชุดไปยังผู้สูงอายุในจังหวัดลำพูน ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย/ผู้เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และผู้เชี่ยวชาญด้านผู้สูงอายุเพื่อให้ความเห็นและให้ข้อเสนอแนะแก่คณะผู้วิจัย

วิธีดำเนินโครงการ 5) นำข้อมูลที่วิเคราะห์จากแบบสอบถามทั้ง 3 ชุด ในขั้นตอนที่ 4 มาวิเคราะห์ความคิดเห็น 6) สัมภาษณ์และประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิที่รับผิดชอบ/มีส่วนได้ส่วนเสียในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในประเทศไทยเพื่อกลั่นกรองรายการตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุที่จัดทำในขั้นตอนที่ 5 7) การทบทวนเวชระเบียนในกลุ่มตัวชี้วัดที่ผ่านการกลั่นกรองเปรียบเทียบกับข้อมูล/ฐานข้อมูลผู้สูงอายุในจังหวัดลำพูนและเทียบกับเกณฑ์ตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุมาตรฐานทั่วไป (explicit review)

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ผู้สูงอายุในจังหวัดลำพูนจำนวน 148 คน 2. ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย/ผู้เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพ จำนวน 34 คน 3. ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิที่รับผิดชอบ/มีส่วนได้ส่วนเสียในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในประเทศเพื่อกลั่นกรองรายการตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุที่จัดทำขึ้น จำนวน 40 คน (สัมภาษณ์ 5 คน ประชุมกลุ่ม 30 คน) 4. ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในการรายงานข้อมูลตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุในสถานบริการด้านสุขภาพระดับปฐมภูมิ จำนวน 5 คน ระดับทุติยภูมิ จำนวน 5 คน ระดับตติยภูมิจำนวน 5 คน ระดับสาธารณสุขมูลฐานจำนวน 5 คน และระดับผู้นำ/เครือข่ายผู้สูงอายุในชุมชนจำนวน 5 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1. คณะผู้วิจัยและผู้วิจัยภาคสนาม เป็นเครื่องมือที่สำคัญอีกส่วนหนึ่งซึ่งต้องมีความรู้และทักษะในการเก็บข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการสอบถามผู้สูงอายุ ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย/ผู้เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ชุดที่ 1 แบบตรวจสอบรายการตัวชี้วัด เป็นแบบสอบถามผู้สูงอายุ ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย/ผู้เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหาของตัวชี้วัด เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ดังนี้ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ควรปรับปรุง ชุดที่ 2 แบบตรวจสอบลำดับความสำคัญของตัวชี้วัด (Importance) การใช้ประโยชน์ (Usefulness) ความเป็นไปได้ในการรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง(Feasibility) เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า สำหรับสอบถามผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย/ผู้เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเกี่ยวกับลำดับความสำคัญของตัวชี้วัด มีมาตราส่วนประมาณค่าดังนี้ 1 หมายถึง ลำดับความสำคัญ การใช้ประโยชน์ และความเป็นไปได้ในการรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้องอันดับ 1 2 หมายถึง ลำดับความสำคัญ การใช้ประโยชน์ และความเป็นไปได้ในการรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้องอันดับ 2 3 หมายถึง ลำดับความสำคัญ การใช้ประโยชน์ และความเป็นไปได้ในการรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้องอันดับ 3

การวิเคราะห์ข้อมูล 1. ความคิดเห็นเกี่ยวกับรายการตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายในขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา(ค่าเฉลี่ย ความถี่และร้อยละ) 2. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์และประชุมกลุ่มโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

ผลการตรวจสอบรายการตัวชี้วัด เอกสารรายการตัวชี้วัดแจกวันประชุม.doc