โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
Advertisements

รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
แผนดำเนินงานโครงการวิจัย โครงการศูนย์วิจัยระบบการวางแผนจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อความมั่นคงระดับจังหวัด ระยะที่ 2 (ก.ค.54-ก.ย.54) โดย หน่วยวิจัยระบบปฏิบัติการวิจัยการจัดการแหล่งน้ำ.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การจัดการศึกษาในชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
แผนพัฒนาระบบข้อมูล การจัดทำรายงาน และแผนการสนับสนุน.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
กลุ่มที่ 1.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
ปัญหาของการจัดการน้ำคือ อะไร เพราะเหตุใด ประชาชนจะร่วมกันจัดการ น้ำได้อย่างไร ใครบ้างที่ควรเข้ามาร่วม คำถาม.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การวิเคราะห์ประเด็น ปัญหาการเฝ้าระวังใน พื้นที่ นายมนัสพร ภมรบุตร นักพัฒนาสังคมชำนาญการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงคราม

กลไก กรอบแนวคิดการดำเนินงานพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม วิเคราะห์แหล่งน้ำ ลุ่มน้ำ การใช้น้ำ GIS ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป ของจังหวัด สชป.13 ชป.จ. 1.พัฒนาระบบ ข้อมูลพื้นที่ Information internet แผนการจัดการน้ำเชิงบูรณาการ วิศวะ มก. 2.กลไก จนท.ชป. กก.ลุ่มน้ำ หน่วยงานจังหวัด กลไก การเรียนรู้ ง่ายงาม Node maeklong ท้ายหาด บางพรม ท่าคา แพรกหนามแดง กระดังงา ดอนมะโนรา กรอบแนวคิดการดำเนินงานพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม 3.การแก้ปัญหาของพื้นที่

พื้นที่นำร่องในจังหวัดสมุทรสงคราม

ความต้องการน้ำของจังหวัดสมุทรสงครามแยกเป็นรายตำบล อุปโภค-บริโภค อุตสาหกรรม เกษตรกรรม

ประเด็นยุทธศาสตร์น้ำจังหวัดสมุทรสงคราม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาทรัพยากรน้ำอย่างสมดุล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำและคุณภาพน้ำ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การป้องกันและบรรเทาพิบัติภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำ

การดำเนินงานจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัดสมุทรสงคราม

หน่วยงานที่เข้าร่วม

การจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรน้ำ จังหวัดสมุทรสงคราม

การดำเนินงานจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำระดับตำบลจังหวัดสมุทรสงคราม

เวทีเตรียมการจังหวัดสมุทรสงคราม

เวทีระดับตำบล

เวทีเตรียมการครั้งที่ 6 การประมวลแผนจัดการน้ำระดับจังหวัดและตำบล

การนำเสนอโครงการวิจัยต่อ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม

ตัวอย่าง SWOT ด้านน้ำของ ต.ท้ายหาด

ตัวอย่างโครงการด้านน้ำของตำบลท้ายหาด การศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ชาวบ้านในตำบลท้ายหาดได้รับผลกระทบจากน้ำที่ขึ้นสูง โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ คำถามวิจัย "สาเหตุ และปัจจัยอะไรบ้าง ที่ทำให้ชาวบ้านในตำบลท้ายหาด ได้รับผลกระทบเรื่องน้ำท่วมสูง"

อบรมการใช้เครื่องมือ GPS

ลงพื้นที่สำรวจและจับพิกัด GPS

ตำแหน่งท่อลอดใน ต.ท้ายหาด

ผลการดำเนินงาน ระดับชุมชน ชุมชนมีความเข้าใจเป้าหมายและการดำเนินงานโครงการตลอดจนสนใจเข้าร่วมโครงการตลอดจนเกิดความกระตือรือร้นในการจัดการน้ำของชุมชน แกนนำชุมชนมีความมุ่งมั่นตั้งใจและเห็นความสำคัญมีบทบาทสำคัญในการดำเนินงาน โครงการ ชุมชนตำบลแพรกหนามแดง ชุมชนบางพรม และชุมชนตำบลกระดังงา ผู้นำชุมชนมีบทบาทสำคัญในการดำเนินงาน ชุมชนใช้ฐานข้อมูลเบื้องต้นในการตัดสินใจพัฒนาพื้นที่ ได้แก่ตำบลท้ายหาด ตำบลแพรกหนามแดง แกนนำชุมชนเกิดการพัฒนาทักษะการจัดการข้อมูลอย่างมีส่วนร่วม

ผลการดำเนินงาน ระดับหน่วยงานส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่นให้ความสำคัญกับโครงการ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าคา (รองนายก อบต.) องค์การบริหารส่วนตำบลดอนมะโนรา(นายกและรองนายก อบต.)และองค์การบริหารส่วนตำบลท้ายหาด (รองนายก อบต.) เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ชุมชนตำบลท่าคา,ชุมชนกระดังงา เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านสารสนเทศระหว่างเจ้าหน้าที่ อปท.กับทีมวิจัย การบูรณาการความร่วมมือ ระหว่างชุมชน ผู้นำท้องที่และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ตำบลท่าคา ตำบลท้ายหาดและตำบลบางพรม

การขับเคลื่อนแผนน้ำระดับชุมชน ชุมชนแพรกหนามแดงเกิดแผนการจัดการลำคลองอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลท้ายหาดใช้ข้อมูลจากงานวิจัยผลักดันแผนการการขุดลอกคูคลองเพื่อพัฒนาระบบการไหลเวียนของน้ำในพื้นที่ เกิดกระบวนการขับเคลื่อนการจัดการพื้นที่ที่เอื้อต่อระบบการไหลเวียนของน้ำ เช่น มาตรการจัดการกรณีบุกรุกลำน้ำสาธารณะของ อบต.ท้ายหาด การผลักดันแผนการพัฒนาตำบล ระดับหน่วยงาน เกิดการบูรณาการภารกิจด้านน้ำของแต่ละหน่วยงานเข้าด้วยกัน และช่วยให้หน่วยงานได้ทราบบทบาทของหน่วยงานตนเองได้ชัดเจนมากขึ้น

มีปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ การลงพื้นที่เพื่อเรียนรู้ข้อมูลสภาพพื้นที่และสถานการณ์น้ำในระดับชุมชน อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนสร้างความสัมพันธ์กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ส่งผลต่อความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของแกนนำระดับชุมชน การให้ความสำคัญกับกิจกรรมสร้างความเข้าใจ ซึ่งเป็นกิจกรรมหลักที่สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยชักชวนผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับชุมชน และระดับจังหวัดเข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ชุมชนได้ร่วมกันวิเคราะห์ศักยภาพของชุมชน ทำให้ชุมชนเรียนรู้ข้อมูลตนเอง การมีส่วนร่วมกำหนดโจทย์วิจัย จะต้องเป็นการเรียนระหว่างผู้เกี่ยวข้องในระดับโครงการ ตั้งแต่การเรียนรู้สภาพพื้นที่ วิเคราะห์ปัญหา กำหนดประเด็นศึกษาและพัฒนาเป็นโจทย์การวิจัยที่ผ่านการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้องพื้นที่ การทดลองเรียนรู้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เบื้องต้น โดยการเรียนรู้การใช้ GPS สร้างชุดข้อมูลทำให้ชุมชนและหน่วยงานเห็นประโยชน์ของข้อมูลและกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง