การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ โดยใช้ Google API

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

Education Research Complete
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ของอาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ระบบข้อสอบออนไลน์.
โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐาน ทางการเรียนของนักศึกษา
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
การเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
สื่อโสตทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ Management Software Hardware
กลุ่มงานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศ นำเสนอโดย นายสุขสันต์ พรมบุญเรือง.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
เอกสารประกอบรายงานการประชุมข้าราชการ สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่อุบลราชธานี ครั้งที่ 11/2556 เมื่อวันศุกร์ ที่ 29 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุม หน้าห้องฝ่ายปราบปราม.
เส้นทางสู่ “ ข้อมูลแข็งแรง ” ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
กลุ่มงานเทคโนโลยี สารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จำนวนห้องสมุดประชาชนมีการ พัฒนาการให้บริการด้วยระบบ ICT เสร็จตามแผนที่กำหนด และเป็นที่ พึงพอใจของผู้ใช้บริการ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร 1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ โดยใช้ Google API นายสุขสันต์ พรมบุญเรือง สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

หลักการและเหตุผล ต้องเดินหาไปเรื่อยๆ ? โทรถามเพื่อน ? สอบถามบรรณารักษ์ ? ไม่รู้สถานที่ ?

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาห้องสมุดเสมือน 3 มิติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อการใช้งานห้องสมุดเสมือน 3 มิติ ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กิตติมศักดิ์ ในจิต (2553 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือนออนไลน์เพื่อการสืบค้นสื่อประสมและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อสร้างระบบห้องสมุดเสมือนออนไลน์เพื่อการสืบค้นสื่อประสมและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สรุปได้ว่าระบบที่สร้างขึ้น มีประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ดี สามารถใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนการสอนได้ ศานติ เจริญวงศ์ (2551 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์บ้านเรือนไทยอีสานในรูปแบบ 3 มิติ โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์บ้านเรือนไทยอีสานในรูปแบบ 3 มิติ 2) เพื่อประเมินคุณภาพเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์บ้านเรือนไทยอีสาน 3 มิติ 3) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเรือนไทยอีสานและวิธีชีวิตคนอีสาน Gerard Salton Professor PhD Harvard University “Salton, Gerard. Introduction to Modern Information Retrieval. McGraw-Hill, 1983.”

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง อนิรุทธิ์ โชติถนอม (2548 : บทคัดย่อ) ได้ทำการศึกษาเว็บเพจแนะนำมหาวิทยาลัยมหาสารคามในรูปแบบ 3 มิติขั้นพื้นฐาน เช่น กล่องสี่เหลี่ยม ทรงกลม ทรงกระบอกมาประกอบกันให้เป็นแบบจำลอง 3 มิติ ของอาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัย Enji Sun และคณะ (2009) ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับการติดตามการดำเนินงานในการทำเหมืองแร่โดยใช้ Google Earth 3D ในการจำลองภาพเสมือนสามมิติ ซึ่งสามารถระบุพิกัดและสามารถติดตามในเวลาจิรงได้และสามารถเพิ่มความน่าเชื่อถือและลดความไม่แน่นอนในการดำเนินการทำพื้นผิวเหมืองแร่ทำให้สามารถเตือนอัตรายจากการทำงานและเห็นเส้นทางในการหลีกเลี่ยงอันตรายได้ Gerard Salton Professor PhD Harvard University “Salton, Gerard. Introduction to Modern Information Retrieval. McGraw-Hill, 1983.”

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5. Haifeng Huang (2011 : ieee) ได้ศึกษาเพื่อพัฒนาระบบดิจิตอลสามมิตินำเสนอการท่องเที่ยวโดยใช้ Google Earth API ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ในโลกเสมือนดิจิตอลและแพลตฟอร์ม Google Earth (GE) ได้รับการใช้กันอย่างแพร่หลายในด้านต่างๆรวมถึงการท่องเที่ยวในรูปแบบดิจิตอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปิดตัวของปลั๊กอิน GE Plug-in และ API ที่ทำให้เป็นไปได้ที่จะสร้างความซับซ้อนในการใช้งานแผนที่เว็บ 3D Gerard Salton Professor PhD Harvard University “Salton, Gerard. Introduction to Modern Information Retrieval. McGraw-Hill, 1983.”

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 1 สำรวจโครงสร้างภายในอาคารสำนักวิทยบริการตามแผนผังชั้น 3 โดยปรึกษาจากผู้บริหาร บุคลากรสำนักวิทยบริการ เจ้าหน้าที่งานบริการและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกส่วน

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 1 สำรวจโครงสร้างภายในอาคารสำนักวิทยบริการ แล้วสร้างโมเดลสามมิติโดยใช้โปรแกรม Google Sketch up

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 1 ทำการศึกษา Google Earth API สำหรับแสดงโมเดลสามมิติบนเว็บไซต์จากนั้นใช้ภาษา Java script ทำการควบคุมการเหตุการณ์ที่ผู้ใช้สืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 2 ทำการออกแบบจำลองโมเดล 3 มิติเรียบร้อยแล้ว จากนั้นจัดเก็บข้อมูล Bookmark ที่ได้จากการสำรวจโดยใช้โปรแกรม Google Earth บนพีซีดังภาพประกอบ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 3 นำแบบจำลอง 3 มิติเข้าสู่เว็บเพจ ดังภาพ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 4 ออกแบบหน้าเว็บเพจสำหรับการแสดงผลโดย ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำนวน 2 ท่าน ได้แก่ 1) นายสมพงษ์ เจริญศิริ รองผู้อำนวยการฝ่ายนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) นางจีรกาญจน์ เต็มพรสิน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อโสตทัศน์จำนวน 1 ท่าน ได้แก่ 1) นายอารยะ เสนาคุณ นักวิชาการโสตทัศน์ชำนาญการพิเศษ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 4 (ต่อ) เครื่องมือในการเก็บรวบรวม ได้แก่ แบบสอบถามประมาณค่า (Rating scale) จำนวน 2 ฉบับ ฉบับแรกสำหรับผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 ข้อ ฉบับที่สองสำหรับ ผู้ใช้บริการ จำนวน 10 ข้อ จากนั้นผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้ผู้เชี่ยวชาญทดลองใช้ระบบ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 5 ดำเนินการติดตั้งเพื่อใช้งานออนไลน์ที่ http://metal.msu.ac.th/upload3d และสามารถเชื่อมโยงกับ Web Opac ได้ ดังภาพ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 6 ทดสอบระบบจากผู้ใช้บริการที่มาเข้าในสำนักวิทยบริการของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 300 คน ผู้ปฏิบัติงานจำนวน 30 คนโดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงในการทดสอบกับแบบประเมิน ขั้นตอนที่ 7 การประเมินผลระบบโดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองระหว่างวันที่ 1-30 ตุลาคม 2556 จากนั้นนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ ระบบปฏิบัติการ Windows 7 โปรแกรม Apache 2.5.10 สำหรับจำลองเครื่องแม่ข่าย โปรแกรม Macromedia DreamweaverCS6 4) โปรแกรม Google Earth 5) โปรแกรม Google Sketchup

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือนสามมิติโดยใช้ Google API สามารถจำลองสภาพแวดล้อมของตำแหน่งสารสนเทศชั้น 3 สำนักวิทยบริการ(A) มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นตำแหน่งสารสนเทศด้วยเลขเรียกหนังสือได้ ระบบสามารถเชื่อมโยงกับเว็บสืบค้น Web Opac ปัจจุบันได้ระบบจะเพิ่มเมนู Go to SHELF ในแต่ละรายการที่ผู้ใช้สืบค้นจาก Web Opac สามารถบ่งชี้ไปยังตำแหน่งของสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วยิ่งขึ้น รวมทั้งอำนวยความสะดวกผู้ใช้บริการที่ไม่คุ้นเคยกับสำนักวิทยบริการและสามารถทราบถึงบริการที่มีต่างๆได้ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อระบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก ผู้ปฏิบัติงานได้ประเมินผลอยู่ในระดับมากที่สุด

ข้อเสนอแนะ ควรเพิ่มความสามารถในการปรับเปลี่ยนตำแหน่งสถานที่ของสารสนเทศได้ในอนาคต พัฒนาระบบให้ครอบคลุมทุกส่วนบริการภายในสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อให้เสมือนจริงมากยิ่งขึ้น

การนำไปใช้ประโยชน์ 1. สามารถประยุกต์ใช้ในการนำพาไปยังตำแหน่งจัดเก็บสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถประยุกต์เพิ่มสื่อได้หลากหลายประเภทเพื่อแนะนำสารสนเทศห้องสมุดมหาวิทยาลัยได้อย่างน่าสนใจ

การนำไปใช้ประโยชน์ 1. สามารถบ่งชี้พิกัดตำแหน่งที่จัดเก็บสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถประยุกต์ใช้เพื่อประชาสัมพันธ์บริการสารสนเทศที่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัยได้

วีดีโอสาธิตการใช้งาน

จบการนำเสนอ ขอบพระคุณครับ จบการนำเสนอ ขอบพระคุณครับ