ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยนอกและผู้รับบริการอื่น ๆ เฉลี่ย / เดือน หน่วย : ครั้ง ( เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ )
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การศึกษาการใช้ Tienam ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
Sulperazon.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
การประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน อรพรรณ โตสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ ม มหิดล
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
กลุ่ม ๕.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค ธ.ค 2544 Complications.
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER TOOL
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ตัววัดความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆทางระบาดวิทยา
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ขั้นตอนการทำวิจัย (การศึกษาค้นคว้าอิสระ หรือวิทยานิพนธ์) สายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปรับปรุง 9 เมษายน 2557.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิเคราะห์และใช้ประโยชน์ข้อมูล
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การวิเคราะห์ข้อมูล.
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
“ ถุงมือ สะดวกใช้ – สบายใจ ผู้ตรวจ เพื่อลดการปนเปื้อน ”
ไข้เลือดออก.
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
เข็มมุ่ง บุคลากรทุกคนทุกระดับในกลุ่มการพยาบาลใช้หลัก Standard precautions (การปฏิบัติขั้นพื้นฐานเพื่อป้องกันการติดเชื้อ)ในการปฏิบัติงาน ผู้ป่วยที่สามารถแพร่กระจายเชื้อหรือมีความไวต่อการรับเชื้อได้รับการดูแลตามหลัก.
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กรกฎาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
การวิเคราะห์อัตรากำลัง สายงานพยาบาล
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน เมษายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์ นสพ. พัชรินทร์ อ่อนอารีย์ นสพ. รัศมีแข จงธรรม์

ทบทวนวรรณกรรม การติดเชื้อของแผลผ่าตัด ร.พ.ราชบุรี โดย อนงค์ สุทธิพงษ์ 2539 - พบว่าปัจจัยทำให้เกิด SSI : Dirty wound และการไม่โกนขนก่อนผ่าตัด - เชื้อที่เป็นสาเหตุมากที่สุด คือ E.coli การติดเชื้อของแผลผ่าตัด ร.พ.สวรรค์ประชารักษ์ โดย รัชนี โกศัลวัฒน์ 2535 - พบว่า ผู้ป่วยที่มี SSI มากที่สุด : Dirty wound เชื้อที่เป็นสาเหตุมากที่สุด คือ Ps. aeruginosa

คำถามหลัก ปัจจัยใดที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัด (SSI) ในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัดที่ห้องผ่าตัดใหญ่ ร.พ. พุทธชินราช

คำถามรอง ปัจจัยเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับ SSI อย่างไร 1. ระยะเวลาที่อยู่ ร.พ.ก่อนการผ่าตัด 2. ประเภทของการผ่าตัด 3. ระยะเวลาในการผ่าตัด 4. ผู้ทำการผ่าตัด 5. ชนิดของแผลผ่าตัด 6. การใส่ท่อระบายหลังการผ่าตัด เชื้อโรคชนิดใดที่เป็นสาเหตุ SSI มากที่สุด

วิธีการศึกษา Matched -pair case control ( case: control = 1:2 ) โดยใช้ ward , เพศ และอายุ ศึกษาย้อนหลัง 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค.- 31 ก.ค. 2543 เครื่องมือการวิจัย - แบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ - เวชระเบียนผู้ป่วยใน - เเบบเก็บข้อมูล

วิธีการศึกษา (ต่อ) กลุ่มตัวอย่าง - case : 41คน - control : 82 คน - รวมทั้งสิ้น 123คน วิธีวิเคราะห์ผล โดยใช้ odds ratio และ 95% CI

การคำนวณค่าทางสถิติของ Matched-pair case control กรณี case:control เป็น 1:2 Odds ratio ( OR ) = 2a + b e + 2f 95% CI : Var ( log OR) = (a + e ) . 2OR + 2OR(b+f) -1 (OR +2)2 (2OR+1)2 ORL , ORU = OR exp { +- Z a/2 [ Var ( log OR )]1/2}

Surgical pts. 4,402 คน IC 55 คน DM Loss data 1 คน 5 คน No M.R. No control 3 คน Case ที่ศึกษา 41 คน

ผลการวิจัย ข้อมูลแสดงอัตราการได้รับยาปฏิชีวนะจำแนกตามชนิดของแผลผ่าตัด

ผลการวิจัย (ต่อ) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัด ผลการวิจัย (ต่อ) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัด

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงทำให้เกิด SSI ได้แก่ วิจารณ์ ผล ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงทำให้เกิด SSI ได้แก่  ระยะเวลาอยู่โรงพยาบาลก่อนการผ่าตัด > 2 วัน  ระยะเวลาในการผ่าตัด > 3 ชั่วโมง  Dirty wound  การใส่ท่อระบาย *อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงป้องกัน SSI :  Emergency  Non-staff *อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Contaminate wound มีอัตราการติดเชื้อมากกว่า Dirty wound เชื้อที่เป็นสาเหตุมากที่สุด คือ Ps.aeruginosa

ข้อเสนอแนะ ควรให้ผู้ป่วยอยู่ในร.พ.ตามความจำเป็น หากเป็นไปได้ควรใช้เวลาในการผ่าตัดให้น้อยที่สุด ควรมีการเรียงลำดับการผ่าตัดก่อนหลังตามชนิดของแผล ควรใส่ drain ตามความจำเป็น ควรตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันการติดเชื้อ

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาแบบ Prospective ควรศึกษาในกลุ่มประชากรที่มี injury ของบาดแผลคล้ายคลึงกัน ควรศึกษาระยะเวลานานกว่า 3 เดือน ควรมีค่า Estimate ก่อนการวิจัย ปัจจัยอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

The end