โครงการจัดตั้งศูนย์แห่งความเป็นเลิศ ด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
Advertisements

กว่า 20 ปี คณาจารย์และนักศึกษามีความมุ่งมั่นสร้างสรรค์นวัตกรรมทางด้านวิศวกรรม เกษตรอย่างต่อเนื่อง โดยมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในแวดวงวิชาการ ถึง.
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปฐพีศาสตร์ สาขาวิชา.
แนะแนวการเข้าศึกษาต่อ
Maejo University Administrative Chart
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง

ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท ดร.วีรเทพย์ พงษ์ประเสริฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ปฏิบัติการวิจัยภาคสนาม ในพื้นที่ภาคอิสาน ณ ต. จิกดู่ อ. หัวตะพาน จ
ปฏิบัติการวิจัยภาคสนาม ในพื้นที่ภาคกลาง ณ เทศบาล ต. กระจับ อ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ประกอบด้วย 4 วิทยาเขต
ประวัติวิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรมงคล แน่นหนา
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
โครงการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี
โครงการ ลำไยสีทองล้านนา
กลุ่มที่ 1 เจริญบุรี จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดอำนาจเจริญ
กลุ่ม เก็บตะวัน กลุ่มที่ 5 กาญจนบุรี สมุทรสงคราม
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กลุ่มสระปทุมสมุทรลพบุรี
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สมาชิกกลุ่ม 6.
กลุ่ม ก.ส.น. จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนนทบุรี
กลุ่มที่ 6 กลุ่ม วังบัว บาน จังหวัด เชียงใหม่ (1-26)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
นำเสนอโดย : นายเสน่ห์ แสงคำ
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
งานวิจัยแบบสหสาขาวิชาการ
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
กลุ่มที่ 4 กลุ่มเฟื่องฟ้า
วิทยากร อ.นิภารัตน์ รัตโนภาส ผู้ช่วยวิทยากร นายปิยะพงศ์ เบาโพธิ์
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
สถานีวิจัยและศูนย์ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
วิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้าน วิชาการ รับใช้ สังคม 50 ของเอเชีย เป้าหมาย ร่วมพัฒนาพื้นที่และประเทศอย่างยั่งยืน จัดการศึกษา มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ พัฒนางานวิจัย.
โครงการวิจัย 1 ปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน จากการใช้ผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) ประกอบการอนุญาตฯนิคมอุตสาหกรรมลำพูน โดยกลุ่มที่
นำเสนอโดย : นางนันทิยา วาสุกรี
จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
จังหวัดตาก ( ๑ - ๑๗ ), จังหวัด อุตรดิตถ์ ( ๑ - ๘ )
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการจัดตั้งศูนย์แห่งความเป็นเลิศ ด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย

วิสัยทัศน์ ด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย สร้างความเป็นเลิศในงานวิจัย ด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย เพื่อให้ได้อาหารที่มีมาตรฐานและความปลอดภัย ต่อเกษตรกรผู้ผลิต ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม

พันธกิจ 1. จัดหาครุภัณฑ์สำหรับการทำงานวิจัยด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย 2. สร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและสามารถเผยแพร่ในระดับชาติ และ นานาชาติ 3. ผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาโทและเอกที่มีคุณภาพ 4. สร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ซึ่งสามารถพัฒนาไปสู่การผลิต เชิงพาณิชย์ รวมถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลอดภัย

พันธกิจ(ต่อ) 6. แสวงหาแหล่งทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก 5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างนักวิจัยจากสหสาขาวิชาทั้งภายในและหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย 6. แสวงหาแหล่งทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก 7. เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดและเผยแพร่ผลงานวิจัยหรือเทคโนโลยีใหม่ที่ได้จากงานวิจัยสู่ชุมชนและให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน 8. เป็นศูนย์บริการในการตรวจสอบวิเคราะห์คุณภาพ มาตรฐาน รวมไปถึงสารตกค้างในผลิตผลสดอาหารแปรรูป และสิ่งแวดล้อม

หัวหน้าโครงการ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีระศักดิ์ ฉายประสาท Ph.D. (Agricultural Science) ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ฯ ม.นเรศวร 2. รองศาสตราจารย์ ดร.เสวียน เปรมประสิทธิ์ Ph.D (Forest Ecology) ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ฯ ม.นเรศวร 3. ดร.อาภรณ์ จรัญรัตนศรี วท.ด. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ฯ ม.นเรศวร

ผู้ร่วมโครงการ 1. รศ. ดร. วารินทร์ พิมพา วท.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) 1. รศ. ดร. วารินทร์ พิมพา วท.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) 2. ผศ. ดร. บุญส่ง แสงอ่อน Ph.D. (Food Science and Technology) 3. ผศ. ดร. วันดี ทาตระกูล Dr. Sc. agr. (Animal Production and Nutrition) 4. ผศ. ดร. ชนิดา หันสวาสดิ์ Ph.D. (Agricultural Chemistry : Food Biochemistry) 5. ดร. สิริรัตน์ แสนยงค์ วทด. (โรคพืช) 6. ดร. วิภา หอมหวล Ph.D. (Plant and Soil Science) 7. ดร. อุดมพร เพ่งนคร Ph.D. (Entomology and Agronomy) 8. ดร. ธนูชัย กองแก้ว Dr.agr. (Agronomy)

ผู้ร่วมโครงการ (ต่อ) 9. ดร.ชนินทร์ อัมพรสถิร (มลพิษทางอากาศ) 9. ดร.ชนินทร์ อัมพรสถิร (มลพิษทางอากาศ) 10. ดร. กณิตา ธนเจริญชณภาส (มลพิษทางอากาศ) 11. อาจารย์พันธ์ทิพย์ กล่อมเจ๊ก (มลพิษทางน้ำ) 12. ดร.จรูญ สารินทร์ (Environmental Microbiology) 13. ผศ. ดร. ศิริพงษ์ เปรมจิต (Fungal biotechnology) 14. ผศ.ดร.มยุรี กระจายกลาง (เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์) 15. ผศ.ดร. ดวงพร เปรมจิต (Plant Cytogenetics)

ผู้ร่วมโครงการ (ต่อ) 16. รศ.ดร. กิจการ พรหมมา (อุทกธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม) 17. ดร.สันธิวัฒน์ พิทักษ์พล (เทคโนโลยีการประมง) 18. ดร.วาสนา ณ ฝั้น (เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์) 19. นายดุสิต เสรเมธากุล (ป่าไม้) 20. ผศ.ดร.เหรียญทอง สิงค์จานุสงค์ Ph.D.(Food Science and Technology) 21. ผศ.ดร.สุดารัตน์ เจียมยั่งยืน Ph.D.(Food Science and Technology)

เครือข่ายความร่วมมืองานวิจัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย 1. รศ. ดร. จริงแท้ ศิริพานิช Ph. D. (Horticulture) ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. รศ. ดร. ดนัย บุญยเกียรติ Ph.D. (Horticulture) ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3. ดร. ไพโรจน์ หลวงพิทักษ์ Ph.D. (Food Nutrition) ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 4. ดร. ปิยศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์ Ph. D. (Plant Biotechnology) ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เครือข่ายความร่วมมืองานวิจัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย(ต่อ) 5. ดร. สมชาย บุญประดับ วท. ด. (พืชไร่) สถานีทดลองพืชไร่ พิษณุโลก กรมวิชาการเกษตร 6. รศ. ดร. สุนทร คำยอง (Forest Ecology) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 7. รศ. ดร. ดร.สุระ พัฒนเกียรติ (Forestry) มหาวิทยาลัยมหิดล 8. ผศ.ดร. กาญนิถา ครองธรรมชาติ (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เครือข่ายความร่วมมืองานวิจัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย(ต่อ) 9. ดร. ชลอ จารุสุทธิรักษ์ (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10. ดร. เทพวิฑูรย์ ทองศรี (เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม) กรมวิทยาศาสตร์บริการ 11. ดร. นิวัฒน์ นภีรงค์ (การปรับปรุงการผลิตข้าว) ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก

งบประมาณรวม ในวงเงิน 10,000,000 (สิบล้านบาทถ้วน) งบประมาณรวม ในวงเงิน 10,000,000 (สิบล้านบาทถ้วน) รายชื่อครุภัณฑ์ ราคาประเมิน(บาท) 1. เครื่องโครมาโทกราฟแบบของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) 1,300,000 2. เครื่องวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักแบบคลื่นความถี่ (ICP-OES) 3,000,000 3. เครื่องแก๊สโครมาโตกราฟแมสสเปกโตรมิเตอร์ (GC-MS) 4. เครื่องวิเคราะห์ลักษณะเนื้อสัมผัสของอาหาร (Texture Analyzer) 1,000,000 5. เครื่องสกัดสารอินทรีย์ก่อนฉีดเข้าเครื่องโครมาโตรกราฟ (Purge & Trap Concentrator) 6. เครื่องตกตะกอนโดยการหมุนเหวี่ยงแบบควบคุมอุณหภูมิได้ (Centrifuge) 350,000 7. ตู้แช่แข็งอุณหภูมิต่ำ (Up-Right Freezer) รวม 10,000,000

HPLC ICP-OES GC-MS

Deep Freezer Purge and Trap Centrifuge Texture analyzer

จบการนำเสนอ