การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
ENVIRONMENTAL SCIENCE
การกระทำทางสังคม (Social action)
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
เศรษฐกิจพอเพียง.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
ผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ระบบเทคโนโลยี Technology System
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
ภูมิปัญญาไทย.
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ความหมาย ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรม
( Organization Behaviors )
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
เรื่อง ระบบเทคโนโลยี.
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
( Organization Behaviors )
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
ระบบความเชื่อ.
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
สมัยโชมอน.
การจูงใจ (Motivation)
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
(Organizational Behaviors)
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
บริษัท โลโก้. 1. เทคโนโลยีเกิดจากความต้องการ หรือมุ่งหมายของ มนุษย์ เพื่อให้เกิดผล ตามที่ตนต้องการ เช่น มนุษย์ต้องการขน ย้ายสิ่งของจำนวนมากได้สะดวก.
เรื่อง ประเทศออสเตรเลีย นฤมล ย้อนใจทัน โรงเรียนอุดมดรุณี ผู้จัดทำ
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Ecology.
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
เทคโนโลยีกับศาสตร์ จากความหมายของคำว่า "วิทยาศาสตร์" และความหมายของคำว่า "เทคโนโลยี" ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่นำไปใช้อธิบายได้ว่า.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม มนุษย์ กับ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม

มนุษย์กับการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม คำถาม ทำไมวัฒนธรรมมนุษย์ในสังคมต่างๆ จึงไม่เหมือนกัน ทั้งที่มี พื้นฐานทางและพัฒนาการชีววิทยามาเหมือนกัน คำตอบ มนุษย์แต่ละกลุ่มตั้งหลักแหล่งอยู่ในสภาพแวดล้อมทางกาย ภาพและทางสังคมต่างกัน มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวด ล้อมต่างกัน

วัฒนธรรม เป็น กระบวนการตอบสนองความต้องการพื้นฐานในสภาพแวดล้อมต่างๆ เพื่อเอาชีวิตรอด วัฒนธรรมจึงเป็นเครื่องมือเพื่อ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางสังคม

มนุษย์กับการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ 1. ระบบนิเวศวิทยา (Ecosystem) 2. กระบวนการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Adaptation) 3. นิเวศวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology) 4. ปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัวของมนุษย์ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทาง กายภาพ

1. ระบบนิเวศวิทยา (Ecosystem) ได้แก่ ระบบที่ประกอบ ด้วยสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (ภูมิประเทศ, ภูมิอากาศ, ทรัพยากร) และสิ่งมีชีวิต ที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้น(พืช, สัตว์ลักษณะ เฉพาะตัว และการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อม ตลอดจนกิจกรรมที่สิ่งมีชีวิตกระทำมีผลซึ่งกันและกัน

2. กระบวนการปรับตัว (Adaptation) ได้แก่ วิธีการที่มนุษย์ใช้ในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานเพื่อการดำรงชีวิตโดยการใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม ผ่านทาง - การปรับวิถีชีวิตคนเข้ากับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ หรือ - การปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เข้ากับวิถีชีวิตของคน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมที่มนุษย์แต่ละสังคมสร้างขึ้น ทั้งวัฒนธรรมวัตถุ (เทคโนโลยี) และวัฒนธรรมความคิด ตัวอย่าง โลกทัศน์ของสังคมตะวันตกและตะวันออกเกี่ยวกับธรรมชาติมีผลต่อสมดุลของธรรมชาติ

3. นิเวศวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology) ได้แก่ วิชาที่ศึกษากระบวนการปรับตัวของมนุษย์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง วัฒนธรรมของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมที่มนุษย์อาศัยอยู่ ศึกษาผลกระทบของเทคโนโลยี ทัศนคติ ความเชื่อและพฤติกรรมของมนุษย์ต่อสภาพทางนิเวศ และต่อความสัมพันธ์ของคนในสังคม ตัวอย่าง แนวคิดเขตวัฒนธรรม (Culture area)

คน วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม ทางกายภาพ ทางชีวภาพ

ปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัวของมนุษย์ให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ทางกายภาพ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ 2. ทัศนคติและค่านิยม 3. เทคโนโลยี 4. การรับหรือแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม

ตัวอย่างการปรับตัว ทางวัฒนธรรมเข้ากับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ชาว Bushmen ในทะเลทราย Kalahari ของอัฟริกา MARVIN HARRIS ศึกษาความเชื่อว่าวัวเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ความเชื่อแบบ TOTEMISM ของชาวพื้นเมือง (ABORIGINISE) ในทวีปออสเตรเลีย (TOTEMISM ความเชื่อว่ามนุษย์มึความสัมพันธ์ทางสายโลหิตกับพืช สัตว์ หรือสิ่งของบางชนิดโดยสืบเชื้อสายมาจากหรือมีบรรพบุรุษร่วมกัน) ความเชื่อและพิธีกรรมของชนพื้นเมืองลุ่มแม่น้ำ Sepik ของปาปัวนิวกินี