ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
Advertisements

กลุ่ม L.O.Y..
เทคนิคการถ่ายภาพ คณะกรรมการจัดการความรู้ กองกิจการนักศึกษา.
การสร้างมุมโดยใช้ไม้โพรแทรกเตอร์
โครงการแว่นสายตาสภากาชาดไทยเพื่อเด็กนักเรียนในชนบท
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ขนาดเชิงมุม h q1 S1 q2 q2 > q1 S2 < S1
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
วิชาถ่ายภาพ.
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
การศึกษาและพัฒนาอาคารวัดปริมาณน้ำ ที่มีระดับต่างคงที่ (CHO)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
เลนส์.
โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนชุมชนบ้านบือแนปีแน สพป.ปัตตานี เขต 2
เลนส์นูน.
เลื่อยมือ hack saw.
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
คุณสมบัติที่เพิ่มขึ้น และระบบการประมวลผลที่ทำให้ภาพดีเยี่ยม.
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การแจกแจงปกติ.
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 7
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
การสร้างแบบเสื้อและแขน
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Professor Dr. Nipone Sookpreedee Professor Dr. Nipone Sookpreedee Siam University Siam
ให้นักเรียนออกแบบงานนำเสนอ เรื่อง กล้องดิจิตอล D-SLR
การพันผ้า (Bandaging)
School of Information Communication Technology,
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ความรู้พื้นฐานของระยะภาพ
กล้องโทรทรรศน์.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
ครูสุนิสา เมืองมาน้อย
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
บทที่8 การเขียน Storyboard.
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
เทคนิคการปรับกล้อง.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
 Image device 1/3-inch color CMOS ระบบ TV PAL/NTSC  Effective 628 x 582 pixels / 510 x 492 pixels  ขนาดกล้อง 4.69 mm. x 3.54 mm. / 5.78 mm. x 4.19 mm.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
การถ่ายภาพ อ.จุฑามาศ ถาวร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ

1. ขึ้นอยู่กับขนาดของรูรับแสง ถ้ารูรับแสงยิ่งโตมากขึ้นเท่าใด ช่วงความชัดลึกของภาพก็ยิ่งน้อยลงเท่านั้น

ขอให้สังเกตจากไดอะแกรม ต่อไปนี้

จะเห็นว่าถ้ารูรับแสงกว้าง มุมของลำแสงก็จะโตขึ้น แต่ถ้ารูรับแสงเล็ก มุมของลำแสงก็จะแคบลง เมื่อมุมแคบระยะชัดจะอยู่ในระยะทางที่มากกว่ามุมของลำแสงที่โต ดังนั้นเมื่อเปิดหน้ากล้อง หรือรูรับแสงกว้างมาก ๆ จึงควรมีความพิถีพิถันในการปรับระยะชัดของวัตถุให้มาก

ช่วงความชัดลึกมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของรูรับแสง ภาพเปรียบเทียบ ช่วงความชัดลึกมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของรูรับแสง f1.4 1/15วินาที

f16 2 วินาที f5.6 1/2 วินาที

ภาพตัวอย่าง 28-70mm. f8 1วินาที ภาพนี้ใช้รู้รับแสงแคบช่วงความชัดลึกของภาพจึงมีมาก

28-70mm. f8 1/60 วินาที ภาพนี้ใช้รู้รับแสงแคบช่วงความชัดลึกของภาพจึงมีมากเช่นเดียวกับภาพก่อนหน้านี้

28-70mm. f4 1/60 วินาที ภาพนี้ใช้รู้รับแสงกว้างช่วงความชัดลึกของภาพจึงน้อยจะชัดเฉพาะจุดโฟกัส ฉากหลังจะเบลอ

ภาพตัวอย่าง จากการใช้เลนส์มุมกว้าง ภาพตัวอย่าง จากการใช้เลนส์มุมกว้าง 19 mm.

21 mm.

24 mm.

2. ขึ้นอยู่กับทางยาวโฟกัสของเลนส์ (Focal length) ความรู้เรื่องเลนส์ถ่ายภาพ โดยปกติเราแบ่งชนิดของเลนส์ตามทางยาวโฟกัสของเลนส์ได้ 3 ประเภท คือ 1. เลนส์มุมกว้าง (Wide angle lens) เป็นเลนส์ที่มีมุมในการรับภาพกว้างกว่า 70 องศาและมีทางยาวโฟกัสสั้น ตั้งแต่สั้นมากๆ เช่น 1.9 ไปจนถึงประมาณ 40 ม.ม. (ตัวเลขบอกทางยาวโฟกัสของเลนส์จะอยู่ที่ขอบเลนส์ด้านหน้า) แยกเป็นประเภทย่อยๆ ดังนี้

2.1 เลนส์มุมกว้างธรรมดา (Moderate wide angle) มีทางยาวโฟกัสต่างกันไประหว่าง25- 40 ม.ม. 2.2 เลนส์มุมกว้างมากรับภาพได้โดยตรง ( Rectilinear Super Wides ) มีทางยาวโฟกัสต่างกันระหว่าง 15 - 24 ม.ม. 2.3 เลนส์มุมกว้างมากรับภาพบิดโค้ง ( Semi - fish eye Super Wides ) มีทางยาวโฟกัสต่างกันระหว่าง 15 - 24 ม.ม. เช่นกันแต่รับภาพบิดโค้ง 2.4 เลนส์มุมกว้างพิเศษรับภาพได้โค้งกลม หรือเลนส์ตาปลา (Fish eye lens) มีทางยาวโฟกัสสั้นมากระหว่าง 1.9 - 12 ม.ม. เท่านั้น และมีมุมในการรับภาพกว้างมากให้ภาพผิดส่วนมาก

เลนส์มุมกว้างที่ควรหาไว้ใช้งานปรกติ ไม่ควรเป็นเลนส์ที่มีความยาวโฟกัสสั้นเกินไป เพราะระยะของภาพจะผิดส่วนมากเกินไป ภาพที่ถ่ายด้วยเลนส์มุมกว้างได้ มักเป็นภาพทางสถาปัตยกรรมและ ไม่เหมาะกับการถ่ายภาพคน หรือวัตถุที่ต้องการให้ฉากหลังพร่ามัว เพราะเลนส์ชนิดนี้ให้ความชัดลึกมาก และถ้าถ่ายภาพในระยะใกล้กล้องมาก ๆ จะเกิดการผิดส่วนของภาพไปจากที่ตามองเห็น (Distortion)