Basic Graphics by uddee

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เสียง ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
คณิตศาสตร์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
สื่อการเรียนเรขาคณิต
Chapter 3 : Still Image (ภาพนิ่ง)
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
สาระการเรียนรู้ อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ.
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
พื้นที่ผิวและปริมาตร
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
รูปร่างและรูปทรง.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
Engineering Graphics II [WEEK5]
Basic Graphics by uddee
Tangram.
มาสเตอร์วุฒินันท์ สิงห์เผ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
(Applications of Derivatives)
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
รหัส / ชื่อสายทาง ระยะท าง / จำนวน รายละเอียดประกอบเบื้องต้น จำน วน อุบัติเ หตุ ( ครั้ง ) PCU ( ต่ อ วัน ) RSIRSI ประมา ณการ งบประมา ณ ( บาท ) 1 นน.4011.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
STEEL RULER หน่วย : เซนติเมตร ( cm ) : มิลลิเมตร ( mm )
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก intro_vb_net_06 การสร้างกราฟเส้นตรงด้วย VB.NET
Mathematics Money
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
เครื่องมือวัดและตรวจสอบ
( รูปเรขาคณิตสามมิติ )
พีระมิด.
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
How to be Platinum (ME). เป้าหมาย Gold Star – เพื่องาน Camp Gold Star 20 พ. ย. Ruby Star – ก่อน ธ. ค. ลงหนังสือ ประวัติศาสตร์ มนุษย์เงินแสน 2,000 รหัส.
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
Map Types, Scales, Resolution Accuracy Projections
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
Spherical Trigonometry
ปริมาตรกรวย ปริมาตรกรวย = ของทรงกระบอก ปริมาตรกรวย =  สูง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
ทรงกลม.
ปริมาตรทรงสามมิติ  พื้นที่ฐาน  สูง.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Basic Graphics 360107 by uddee 3.ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือต่างๆสำหรับช่วยในการเขียนภาพ 4.ความเข้าใจในการใช้เสกล(SCALE) 5.การเขียนรูปร่างและรูปทรงเรขาคณิตต่างๆโดยการร่างแบบใช้เครื่องมือ Room 3506 / 01.00-01.30pm / 23 June 2004

3.ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือต่างๆสำหรับช่วยในการเขียนภาพ

3.ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือต่างๆสำหรับช่วยในการเขียนภาพ

3.ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือต่างๆสำหรับช่วยในการเขียนภาพ

3.ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือต่างๆสำหรับช่วยในการเขียนภาพ

4.ความเข้าใจในการใช้เสกล ( SCALE ) -ทำไมเสกลจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักออกแบบ

10 มิลลิเมตร เท่ากับ 1 เซนติเมตร 100 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร 1000เมตร เท่ากับ 1 กิโลเมตร 2.54เซนติเมตร เท่ากับ 1 นิ้ว 12 นิ้ว เท่ากับ 1 ฟุต หลา , ไมล์ , หุน , วา , ศอก , ฯลฯ

เสกลระบบเมตริก 1:1 1:5 1:10 1:20 1:50 1:100 1:200 1:500 เสกลแบบอังกฤษ(ประมาณ) 12”=1’-0 (1:1) 3” =1’-0 (1:4) 1.5”=1’-0 (1:8) 0.5”=1’-0 (1:24) 0.25”=1’-0 (1:48) 0.125”=1’-0 (1:96) 1” =20’ (1:240) 1” =50’ (1:600) การนำไปใช้ แบบเท่าจริง แบบรายละเอียด รูปตัดงานผนัง รูปตัดโครงสร้าง แปลนและรูปด้าน แปลนอาคาร ผังบริเวณ

1นิ้ว เท่ากับ 25.4มิลลิเมตร 1ฟุต เท่ากับ 0.3048เมตร 1หลา เท่ากับ 0.9144เมตร 1ไมล์ เท่ากับ1.60934กิโลเมตร 1ควอร์ตเท่ากับ0.946353ลิตร 1แกลลอนเท่ากับ0.00378541คิวบิคเมตร 1ออนซ์เท่ากับ28.3495กรัม 1ปอนด์เท่ากับ0.453592กิโลกรัม 1แรงม้าเท่ากับ0.745700กิโลวัตต์ 1มิลลิเมตรเท่ากับ0.0393701นิ้ว 1เมตรเท่ากับ3.28084ฟุต 1เมตรเท่ากับ1.09361หลา 1กิโลเมตรเท่ากับ0.621371ไมล์ 1ลิตรเท่ากับ1.05669ควอร์ต 1คิวบิคเมตรเท่ากับ264.172แกลลอน 1กรัมเท่ากับ0.0352740ออนซ์ 1กิโลกรัมเท่ากับ2.20462ปอนด์ 1กิโลวัตต์เท่ากับ1.34102แรงม้า

600 มิลลิเมตรเท่ากับ2ฟุต 700 มิลลิเมตรเท่ากับ2ฟุต4นิ้ว 800 มิลลิเมตรเท่ากับ2ฟุต8นิ้ว 900 มิลลิเมตรเท่ากับ3ฟุต 1000 มิลลิเมตรเท่ากับ3ฟุต4นิ้ว 1100 มิลลิเมตรเท่ากับ3ฟุต8นิ้ว 1200 มิลลิเมตรเท่ากับ4ฟุต 1500 มิลลิเมตรเท่ากับ5ฟุต 1800 มิลลิเมตรเท่ากับ6ฟุต 2คืบ เท่ากับ 1 ศอก 4ศอกเท่ากับ 1 วา 20วาเท่ากับ 1 เส้น 400เส้นเท่ากับ 1โยชน์ 1วา เท่ากับ 2เมตร 1เส้น เท่ากับ 40เมตร 1 โยชน์ เท่ากับ1600เมตร 1 หุน เท่ากับ 3มิลลิเมตร

เสกล1ต่อ100 = 1 หน่วยที่เขียนจะใหญ่ขึ้น 100 เท่าเมื่อเป็นของจริง เช่นเราเขียนประตูกว้าง 1 เซนติเมตร ด้วยเสกล1ต่อ100 ในแบบ จะมีขนาด 1 เมตร เมื่อเป็นขนาดของจริง ส่วนใหญ่เรามักจะใช้เสกลดังนี้ การเขียนแบบแปลนอาคาร,บ้านพักอาศัยทั่วๆไป 1 ต่อ 100 ,1 ต่อ 75, 1 ต่อ 50 การเขียนแบบแปลนสำหรับตกแต่งภายในหรือประกอบกับรูปด้านเพื่อตกแต่งภายใน 1 ต่อ 50 , 1 ต่อ 25 การเขียนแบบแปลนหรือการเขียนภาพฉายสำหรับเครื่องเรือนลอยตัว 1 ต่อ 25 , 1 ต่อ 20 , 1 ต่อ 10 การเขียนแบบขยายรายละเอียดประกอบการตกแต่ง 1 ต่อ 2 , 1 ต่อ 1(เขียนแบบเท่าจริง)

ตัวอย่างการเขียนแบบด้วยเสกลต่างๆ

5.การเขียนรูปร่างและรูปทรงเรขาคณิตต่างๆโดยการร่างแบบใช้เครื่องมือ รูปร่าง (FORM) 2มิติ รูปทรง (SHAPE) 3มิติ -เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยกับเครื่องมือเครื่องใช้ในการเขียนแบบ -สามารถสร้างรูปร่างรูปทรงได้อย่างเข้าใจและรวดเร็ว -มักเริ่มต้นด้วยรูปร่างเรขาคณิตเบื้องต้นเช่นสามเหลี่ยม,สี่เหลี่ยม,วงกลม,วงรีแบบต่างๆ -การเขียนห้าเหลี่ยม,หกเหลี่ยม,แปดเหลี่ยมด้วยวงเวียนหรือด้วยไม้บรรทัด -การเขียนรูปทรงลูกบาศก์,ปีระมิด,ทรงกระบอก,กรงกรวย,ทรงหลายเหลี่ยมอื่นๆ -การเขียนรูปทรงกลมประกอบรูปทรงอื่นๆ

ตัวอย่าง