อากาศส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพ บรรยากาศ อากาศส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพ ของมนุษย์อย่างไร
Nitrogen 78 % Oxygen 21 % Argon 0.9 % Co2 0.3 % บรรยากาศ Atmosphere ประกอบด้วย Nitrogen 78 % Oxygen 21 % Argon 0.9 % Co2 0.3 %
Ozone O3 Hydrogen Sulphide Carbonmonnoxide สาร Hydrocarbon HC Methane CH4 Ozone O3 Hydrogen Sulphide Carbonmonnoxide สาร Hydrocarbon HC ฝุ่นผง 4 %m
สารที่พบในบรรยากาศ NO Nitric oxide NO2 Nitrogen Dioxide CO1 Carbon Monoxide CO2 Carbon Dioxide SO2 Sulpher Dioxide SO3 Sulpher Trioxide NO Nitric oxide NO2 Nitrogen Dioxide N2ONitrous Oxide
สารระเหย คาร์บอน คลอโรฟอร์ม มีเทน เอธทีลีน เบนซิน สารระเหย คาร์บอน คลอโรฟอร์ม ไวนิลคลอไรด์ Hydrocarbon ฝุ่น เขม่า ตะกั่ว แคดเมี่ยม สารผสม ใยหิน โครเมี่ยม น้ำมัน ยาฆ่าแมลง กรดไนตริด
ปริมาณสารประกอบต่างๆในบรรยากาศ Carbon monooxide 54% Hydrocarbon 14% Sulphur Oxide 15% โลหะปนเปื้อนในบรรยากาศ 5% Nitrogen Oxide 13%
Ammonia NH3 Methane CH4 ไอน้ำ H2O Electrical Change Electrostatic Precipitation
มลพิษ Pollution หมายถึงอะไร 1. สิ่งปนเปื้อนในบรรยากาศ 1. สิ่งปนเปื้อนในบรรยากาศ 2. ปริมาณก๊าซ หรือสารประกอบในบรรยากาศที่มีมากเกินไป หรือน้อยเกินไป
มลพิษในอากาศมาจากไหน ?
Air Pollution Primary Pollution เขม่า เกิดเองในบรรยากาศ รวมทั้งสิ่งที่ถูกปล่อยสู่บรรยากาศSecondary Pollution เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี หรือทางชีวภาพ ทำให้สารนั้นผิดไปจากเดิม เช่น 2SO2 + O2 = 2SO3 SO3 + H2O = H2SO4 กรดกำมะถัน หรือ ฝนกรด
ปัญหาจากมลพิษต่าง ๆ เปโตรเคมีคอล เป็นสารเคมีที่พบในบรรยากาศชั้นล่าง ได้แก่ พวกกำมะถัน สารเหล่านี้ไม่ละลายหรือจางหายไปในบรรยากาศ แต่จะถูกน้ำฝนนำสู่ดิน เกิดการปนเปื้อนในดินอีกต่อหนึ่ง พบที่เมืองโบปาล (Bhopal) ประเทศอินเดีย ในปี ค.ศ. 1984 มีคนตายประมาณ 2,500 คน
คาร์บอนโมนอกไซด์(Carbonmonoxide) ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น เกิดปฏิกิริยาจากการสันดาบที่ไม่สมบูรณ์ของเครื่องจักร รถยนต์ มีผลทำให้มึนหัว ปวดหัว และยากในการวิเคราะห์หาสาเหตุ
เรดอน (Radon) ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น จะปนอยู่ในช่องว่างของดินที่อยู่ในหิน ตามบ้านเรือนที่อาศัย เราจะพบบริเวณใต้ถุนบ้าน ฝักบัวอาบน้ำ ปนเปื้อนกับน้ำบาดาล ก่อให้เกิดมะเร็งที่ตับ ถ้าคนนั้นสูบบุหรี่อยู่แล้ว จะเกิดปฏิกิริยาเร็วเป็น 2 เท่า
สารฟอร์มาลดีไฮด์(Formaldehyde) พบในโรงงานประกอบไม้ เช่น ไม้อัด หรือเครื่องมือเครื่องใช้ในการสร้างบ้าน มีผลทำให้เกิดอาการคันที่ผิวหนัง และลำคอ ทำให้เยื่อจมูกอักเสบ ปวดศรีษะ
แอสเบสตอส(Asbestos) สารแอสเบสตอส เป็นอนุภาคที่ล่องลอยในบรรยากาศที่เป็นอันตรายอย่ายิ่ง พบในสถานที่ก่อสร้าง คือฝุ่นผงจากดิน จากปูนซีเมนต์ จากโรงงานทำผ้าเบรครถยนต์ ทำให้ปอดเป็นจุด หายใจไม่สะดวก ระบบทางเดินลมหายใจขัดข้อง
ปัญหาและที่มาของ โอโซน ฝนกรด ภาวะการณ์เรือนกระจก
ผลของมลพิษทางอากาศต่อร่างกายมนุษย์ 1. มึนหัว 2. ปวดหัว 3. ตาระคายเคือง 4. จมูกอักเสบ
5. ไอ หายใจสั่น 6. เจ็บคอ 7. มีแนวโน้มเป็นมะเร็งในปอด หรือปอดอักเสบ 8. เจ็บหัวใจ หรือ โรคภูมิแพ้
เอล นีโน (El NiNo) กับบรรยากาศของโลก
ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านประชากร 1. ปัญหาในและนอกเมือง Urban and Rural Problem 2. ปัญหาประชากร 3. ปัญหาการสาธารณสุข 4. ปัญหาพลังงาน 5. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ การเมือง การบริหาร