กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ICT & LEARN.
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น Development of Customer Relationship Management System for Khon Kaen University นายจักรพงษ์
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
วิจัยสถาบัน...เรื่องไม่ง่ายแต่ทายท้า
อบรม โปรแกรมระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน (ดอน)
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การบริหารงานของห้องสมุด
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
โครงการ LDAP เฟส 2 ผู้นำเสนอ นายมหาราช ทศศะ
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การดำเนินงานด้านการบริการ
การจัดการบริการสารสนเทศ
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
เกดิษฐ เกิดโภคา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
แอนดรอยด์และไอโอเอสแอปพลิเคชัน สำหรับวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ Android and IOS Applications for CMU e-Theses and CMU e-Research.
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
Management Information Systems
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
e-Office การบริหารสำนักงานสมัยใหม่
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda.
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการคืนตู้ล่วงเวลา
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
กลุ่มงานเทคโนโลยี สารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร 1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ.
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ด้วยมูเดิ้ล ในโรงเรียนสังกัดกองกำกับการตำรวจ ตระเวนชายแดนที่ 44 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ด้วยมูเดิ้ล ในโรงเรียนสังกัดกองกำกับการตำรวจ.
ผู้เข้าร่วมโครงการ Site Visit ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS (Supporting Mechanism for Interlibrary Loan on ThaiLIS Network) นายภัทธ์ เอมวัฒน์* ดร. แสงสุรีย์ วสุพงศ์อัยยะ

Outline ความสำคัญและที่มา วัตถุประสงค์ของการวิจัย ทฤษฎีและการจัดการ เครื่องมือการวิจัย ผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย

ความสำคัญและที่มา บริการยืมระหว่างห้องสมุด (Interlibrary Loan : ILL) ช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดอื่นโดยที่ไม่ต้องเป็นสมาชิกของห้องสมุดนั้น ทรัพยากรสารสนเทศที่ให้บริการ หนังสือ, วารสาร, วิทยานิพนธ์, วิจัย, CD, DVD ขั้นตอนการให้บริการยืมระหว่างห้องสมุดในปัจจุบัน

ขั้นตอนการให้บริการยืมระหว่างห้องสมุด ในปัจจุบัน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย พัฒนาระบบช่วยรับส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการยืมระหว่างห้องสมุด พัฒนาระบบช่วยรวบรวมสถิติเกี่ยวกับการยืมระหว่างห้อสมุด สร้างคู่มือในการใช้งาน เพื่อสร้างระบบนำส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อรวบรวมข้อมูลการใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุดไว้ในส่วนกลาง

ทฤษฎีและการจัดการ วงจรพัฒนาระบบ หรือ SDLC (System Development Life Cycle)

MARC (Machine Readable Cataloging) ทฤษฎีและการจัดการ MARC (Machine Readable Cataloging) 1. ความหมาย คือรูปแบบของข้อมูลในการลงรายการบรรณานุกรมของหนังสือ โสตทัศนวัสดุและสื่อต่างๆ ตามมาตรฐาน RFC 2220 ตามหลักการลงรายการ แบบ AACR2 (Anglo American Cataloging Rules) หรือบัตรรายการในสมัยก่อน 2. โครงสร้าง Field, Tag, Subfield, Indicator

ทฤษฎีและการจัดการ Z39.50 เป็นมาตรฐานสำหรับรับส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งถูกกำหนดโดย US national standard เป็นโปโตคอลที่ทำงานใน applications layer ตาม OSI Model ถูกพัฒนาโดย National Information Standards Organization (NISO) ตาม RFC 1729 ซึ่งให้บริการเกี่ยวกับ สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบห้องสมุดสามารถติดต่อสื่อสารรับส่งข้อมูลกันระหว่างระบบห้องสมุดอัตโนมัติแต่ละแห่ง โดยที่ไม่ต้องมีความรู้เกี่ยวกับ รูปแบบและข้อกำหนดของระบบห้องสมุดอัตโนมัติอื่น ๆ ที่ติดต่อด้วย ซึ่ง ใช้ MARC เป็นรูปแบบพื้นฐานในการแลกเปลี่ยนข้อมูล

สถาปัตยกรรมแบบทรีเทียร์ ทฤษฎีและการจัดการ สถาปัตยกรรมแบบทรีเทียร์

เครื่องมือการวิจัย ส่วนลูกข่าย เว็บเบราเซอร์ ส่วนแม่ข่าย - ติดตั้งระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องแม่ข่ายคือ LINUX - ติดตั้งโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์คือ APACHE - ติดตั้งโปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลชุดคำสั่งคือ PHP ส่วนระบบจัดการฐานข้อมูล ติดตั้งโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลคือ MySQL

ระเบียบวิธีวิจัย การกำหนดปัญหาและความต้องการของระบบ ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา ขั้นตอนการออกแบบระบบ ขั้นตอนในการพัฒนา ขั้นตอนในการทดสอบและติดตั้ง ขั้นตอนการบำรุงรักษาและการประเมินผล

ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้

ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้

ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้

ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้

ผลการวิจัย > บรรณารักษ์

ผลการวิจัย > บรรณารักษ์

ผลการวิจัย > บรรณารักษ์

ผลการวิจัย > บรรณารักษ์

ผลการวิจัย > บรรณารักษ์

ผลการวิจัย > ผู้ดูแลระบบ

สรุปผลการวิจัย ทดลองใช้บริการที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร หอสมุดวิทยาศาสตร์สุขภาพ

สรุปผลการประเมินระบบ สรุปผลการวิจัย สรุปผลการประเมินระบบ

ข้อเสนอแนะ ควรเพิ่มวิธีการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ เช่น Web Services, OAI แทน Z39.50 และควรเพิ่มการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศจากฐานข้อมูลต่างๆ ควรทำให้อ่านแฟ้ม MARC ได้ทุกชนิด ห้องสมุดที่มีผู้ปฏิบัติงานบริการยืมระหว่างห้องสมุดหลายคนควรมีรหัสเข้าใช้ระบบแยกแต่ละบุคคลไม่ควรใช้รวมกัน เพื่อการตรวจสอบข้อมูลผู้ดำเนินการ ข้อมูลการเงิน เป็นต้น

http://ill.oas.psu.ac.th ถาม & ตอบ Thank You