กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS (Supporting Mechanism for Interlibrary Loan on ThaiLIS Network) นายภัทธ์ เอมวัฒน์* ดร. แสงสุรีย์ วสุพงศ์อัยยะ
Outline ความสำคัญและที่มา วัตถุประสงค์ของการวิจัย ทฤษฎีและการจัดการ เครื่องมือการวิจัย ผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย
ความสำคัญและที่มา บริการยืมระหว่างห้องสมุด (Interlibrary Loan : ILL) ช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดอื่นโดยที่ไม่ต้องเป็นสมาชิกของห้องสมุดนั้น ทรัพยากรสารสนเทศที่ให้บริการ หนังสือ, วารสาร, วิทยานิพนธ์, วิจัย, CD, DVD ขั้นตอนการให้บริการยืมระหว่างห้องสมุดในปัจจุบัน
ขั้นตอนการให้บริการยืมระหว่างห้องสมุด ในปัจจุบัน
วัตถุประสงค์ของการวิจัย พัฒนาระบบช่วยรับส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการยืมระหว่างห้องสมุด พัฒนาระบบช่วยรวบรวมสถิติเกี่ยวกับการยืมระหว่างห้อสมุด สร้างคู่มือในการใช้งาน เพื่อสร้างระบบนำส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อรวบรวมข้อมูลการใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุดไว้ในส่วนกลาง
ทฤษฎีและการจัดการ วงจรพัฒนาระบบ หรือ SDLC (System Development Life Cycle)
MARC (Machine Readable Cataloging) ทฤษฎีและการจัดการ MARC (Machine Readable Cataloging) 1. ความหมาย คือรูปแบบของข้อมูลในการลงรายการบรรณานุกรมของหนังสือ โสตทัศนวัสดุและสื่อต่างๆ ตามมาตรฐาน RFC 2220 ตามหลักการลงรายการ แบบ AACR2 (Anglo American Cataloging Rules) หรือบัตรรายการในสมัยก่อน 2. โครงสร้าง Field, Tag, Subfield, Indicator
ทฤษฎีและการจัดการ Z39.50 เป็นมาตรฐานสำหรับรับส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งถูกกำหนดโดย US national standard เป็นโปโตคอลที่ทำงานใน applications layer ตาม OSI Model ถูกพัฒนาโดย National Information Standards Organization (NISO) ตาม RFC 1729 ซึ่งให้บริการเกี่ยวกับ สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบห้องสมุดสามารถติดต่อสื่อสารรับส่งข้อมูลกันระหว่างระบบห้องสมุดอัตโนมัติแต่ละแห่ง โดยที่ไม่ต้องมีความรู้เกี่ยวกับ รูปแบบและข้อกำหนดของระบบห้องสมุดอัตโนมัติอื่น ๆ ที่ติดต่อด้วย ซึ่ง ใช้ MARC เป็นรูปแบบพื้นฐานในการแลกเปลี่ยนข้อมูล
สถาปัตยกรรมแบบทรีเทียร์ ทฤษฎีและการจัดการ สถาปัตยกรรมแบบทรีเทียร์
เครื่องมือการวิจัย ส่วนลูกข่าย เว็บเบราเซอร์ ส่วนแม่ข่าย - ติดตั้งระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องแม่ข่ายคือ LINUX - ติดตั้งโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์คือ APACHE - ติดตั้งโปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลชุดคำสั่งคือ PHP ส่วนระบบจัดการฐานข้อมูล ติดตั้งโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลคือ MySQL
ระเบียบวิธีวิจัย การกำหนดปัญหาและความต้องการของระบบ ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา ขั้นตอนการออกแบบระบบ ขั้นตอนในการพัฒนา ขั้นตอนในการทดสอบและติดตั้ง ขั้นตอนการบำรุงรักษาและการประเมินผล
ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้
ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้
ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้
ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้
ผลการวิจัย > บรรณารักษ์
ผลการวิจัย > บรรณารักษ์
ผลการวิจัย > บรรณารักษ์
ผลการวิจัย > บรรณารักษ์
ผลการวิจัย > บรรณารักษ์
ผลการวิจัย > ผู้ดูแลระบบ
สรุปผลการวิจัย ทดลองใช้บริการที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร หอสมุดวิทยาศาสตร์สุขภาพ
สรุปผลการประเมินระบบ สรุปผลการวิจัย สรุปผลการประเมินระบบ
ข้อเสนอแนะ ควรเพิ่มวิธีการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ เช่น Web Services, OAI แทน Z39.50 และควรเพิ่มการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศจากฐานข้อมูลต่างๆ ควรทำให้อ่านแฟ้ม MARC ได้ทุกชนิด ห้องสมุดที่มีผู้ปฏิบัติงานบริการยืมระหว่างห้องสมุดหลายคนควรมีรหัสเข้าใช้ระบบแยกแต่ละบุคคลไม่ควรใช้รวมกัน เพื่อการตรวจสอบข้อมูลผู้ดำเนินการ ข้อมูลการเงิน เป็นต้น
http://ill.oas.psu.ac.th ถาม & ตอบ Thank You