อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
5.
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 6 การส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศและ
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10
การจัดการศูนย์ สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
การจัดการบริการสารสนเทศ
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เกดิษฐ เกิดโภคา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
เทคนิคการเป็นวิทยากรอบรมเข้มเสริมประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิทยาการจัดการ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
สรุปประเด็นหารือ.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ. ศ
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
สื่อโสตทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ Management Software Hardware
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
Computer Application in Customer Relationship Management
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
รูปแบบการบริการสารสนเทศ

วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
นางสาวอรุณรุ่ง สุวรรณโชติ
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผู้วิจัย นางปราณี แจ่มสาคร
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข ผู้ใช้สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

หน่วยที่ 1 1. ความหมาย กลุ่มผู้ใช้และความสำคัญ ของผู้ใช้ 1.1 ความหมายของผู้ใช้ 1.2 กลุ่มผู้ใช้ 1.3 ความสำคัญของผู้ใช้

1.1 ความหมายของผู้ใช้ ผู้ใช้ หมายถึง ผู้ใช้ทรัพยากรสารสนเทศหรือบริการสารสนเทศของสถาบันบริการสารสนเทศ เช่น ผู้ใช้ห้องสมุด ผู้ใช้ศูนย์สารสนเทศ ผู้ใช้หอจดหมายเหตุ หรือสถาบันบริการสารสนเทศประเภทอื่นๆ

คำที่ใช้เรียกผู้ใช้ในห้องสมุดแต่เดิม คือ ผู้อ่าน (Reader) คำภาษาอังกฤษที่ใช้เรียกผู้ใช้ในสถาบันบริการสารสนเทศปัจจุบัน ได้แก่ Library User, End-user, Patron, Client, Customer, Advocate, Supporter

1.2 กลุ่มผู้ใช้ 1.2.1 วัตถุประสงค์ของการแบ่งกลุ่มผู้ใช้ 1.2.2 กลุ่มผู้ใช้ประเภทต่างๆ

1.2.1 วัตถุประสงค์ของการแบ่งกลุ่มผู้ใช้ กลุ่มผู้ใช้ (User Group) คือกลุ่มบุคคลที่มีความสนใจร่วมกันซึ่งสถาบันบริการสารสนเทศสามารถจัดหาและให้บริการสารสนเทศในฐานะกลุ่มบุคคลมากกว่ารายบุคคล (Concise Dictionary of Library and Information Science, 2nd, 2000: 248)

1.2.1 วัตถุประสงค์ของการแบ่งกลุ่มผู้ใช้(ต่อ) เพื่อทำความเข้าใจถึงคุณลักษณะ (Characteristic) ของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม เพื่อสามารถจัดหาทรัพยากรสารสนเทศและให้บริการสารสนเทศได้ตรงกับความต้องการของกลุ่มผู้ใช้ เพื่อการวางแผนด้านงบประมาณ

1.2.2 กลุ่มผู้ใช้ประเภทต่างๆ 1) กลุ่มผู้ใช้จำแนกตามเพศ 2) กลุ่มผู้ใช้จำแนกตามอายุ 3) กลุ่มผู้ใช้จำแนกตามวิชาชีพ

1.2.2 กลุ่มผู้ใช้ประเภทต่างๆ (ต่อ) 4) กลุ่มผู้ใช้จำแนกตามสาขาวิชา 5) กลุ่มผู้ใช้จำแนกตามอัตราการใช้ 6) กลุ่มผู้ใช้ลักษณะพิเศษ

1) กลุ่มผู้ใช้จำแนกตามเพศ ก. เพศหญิง ข. เพศชาย

2) กลุ่มผู้ใช้จำแนกตามอายุ ก. เด็ก ข. วัยรุ่น ค. ผู้ใหญ่ ง. ผู้สูงอายุ

3) กลุ่มผู้ใช้จำแนกตามวิชาชีพ ก. แพทย์ ข. ครู ค. นักกฎหมาย ง. นักบัญชี จ. ทหาร ตำรวจ

4) กลุ่มผู้ใช้จำแนกตามสาขาวิชา ก. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข. สังคมศาสตร์ ค. มนุษยศาสตร์

5) กลุ่มผู้ใช้จำแนกตามอัตราการใช้ ก. ผู้ใช้สารสนเทศ ข. ผู้อาจจะใช้สารสนเทศ (ตระหนักถึงความสำคัญแต่ไม่มั่นใจในบริการ) ค. ผู้ไม่ใช้สารสนเทศ (ขาดความรู้ ความเข้าใจ แรงกระตุ้น)

6) กลุ่มผู้ใช้ลักษณะพิเศษ ก. ผู้พิการ ข. ผู้ป่วย ค. ผู้ต้องขัง

ก. ผู้พิการ ผู้ที่ตาบอดและมีความบกพร่องทางการมองเห็น ผู้มีความบกพร่องทางการได้ยิน ผู้มีความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว ผู้มีความบกพร่องทางสมองและสติปัญญา

1.3 ความสำคัญของผู้ใช้ ผู้ใช้ คือ องค์ประกอบหนึ่งของการจัดการบริการสารสนเทศ แนวคิดปัจจุบันของการบริการสารสนเทศ คือ การเน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง (User-oriented) แทนการเน้นระบบ

1.3 ความสำคัญของผู้ใช้ (ต่อ) การเข้าใจผู้ใช้และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากสถาบันบริการสารสนเทศถือเป็นหัวใจของการอยู่รอดของวิชาชีพสารสนเทศศึกษา