ภาษาคอมพิวเตอร์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาษา JAVA.
Advertisements

เอาไว้ใช้ในการอธิบายกระบวนการแปลภาษาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
Introduction to C Introduction to C.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
CSI1201 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง Structured Programming
บทที่ 3 ภาษาสำหรับเขียนโปรแกรม
ปฐมนิเทศ การเขียนโปรแกรม ง30202.
ซอฟต์แวร์.
นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
Graphic Programming Language for PIC MCU
Introduction to C Programming
เกณฑ์การให้คะแนน กลางภาค 60 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน
การเขียนผังงาน.
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Intermediate Representation (รูปแบบการแทนในระยะกลาง)
Graphic Programming Language for PIC MCU
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Software.
CS Assembly Language Programming
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
Utility (โปรแกรมอรรถประโยชน์)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
Introduction to C Programming.
โครงสร้างภาษาซี.
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ JAVA
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
Surachai Wachirahatthapong
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
Introduction to C Language
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 1 รู้จักกับภาษาจาวา
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
โครงสร้าง ภาษาซี.
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
ความห มาย สัญลักษณ์ที่ผู้คิดค้นพัฒนา ภาษากำหนดขึ้นมาเพื่อใช้ แทนการสื่อสารหรือสั่งงาน ระหว่างมนุษย์กับเครื่อง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ พ่วงอื่น ประเ ภท.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
Debugging กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาคอมพิวเตอร์

เกณฑ์การให้คะแนน 1.คะแนนกลางภาค 60 แบบฝึกหัด 10 คะแนน ทดสอบย่อย 10 คะแนน สอบปฏิบัติกลางกลางภาค 10 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน รวม 60 คะแนน 2.คะแนนปลายภาค 40 ทดสอบย่อย 10คะแนน แบบฝึกหัด 10 คะแนน สอบปลายภาค 20 คะแนน รวม 40 คะแนน

ที่มาของ ภาษาคอมพิวเตอร์ เป็นภาษาที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อใช้งานติดต่อคอมพิวเตอร์ มีข้อจำกัด และมีขอบเขตที่ ตายตัว ขึ้นอยู่กับไวยากรณ์ ที่ใช้ เรียกว่า ภาษาประดิษฐ์ (Artificial Language) ซึ่งภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่ง ได้ 3 ระดับ คือ 1.ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) 2.ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language) 3.ภาษาระดับสูง (High-Level Language)

1.ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) 1. ภาษาเครื่อง (Machine Language)  เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาเดียวที่สามารถติดต่อกับ คอมพิวเตอร์ได้โดยตรง    เพราะการเขียนคำสั่งและข้อมูลในภาษาเครื่อง ใช้ระบบเลขฐานสอง (binary number system) คือใช้ตัวเลข 0  และ 1 เท่านั้น  2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) จัดเป็นภาษาระดับต่ำ (Low Level Language เป็นภาษาที่ใช้คำเป็นรหัสแทนภาษาเครื่อง โปรแกรมแปลภาษาที่ใช้คือ แอสเเซมเบลอร์ (Assembler)

2. ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language) เป็นภาษาที่ทำความเข้าใจได้ไม่ยากนัก เพราะมีลักษณะ เป็นภาษาแบบโครงสร้าง ทำความเข้าใจได้เหมือนกับภาษระดับสูงแต่ทำงานได้รวดเร็ว เหมือนกับภาษาระดับต่ำ สามารถใช้บนเครื่องที่มีความเร็วต่างกันโดยไม่ต้องดัดแปลง ภาษาระดับกลางจึงเป็น ที่นิยมใช้กันแพร่หลาย ตัวอย่างของภาษาระดับกลาง ได้แก่ ภาษาซี เป็นต้น

แปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรม ที่เรียกว่า Compiler  3. ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ทำความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของ การใช้คำสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานจะต้องมีการแปลความหมายของคำสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคำสั่งที่เรียกว่า Interpreter หรือ แปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรม ที่เรียกว่า Compiler 

การทำงานของภาษาซี 1.จัดทำโปรแกรมต้นฉบับ(Source Program) โดยบันทึกไฟล์เป็นนามสกุล .c 2. แปลงรหัสคำสั่งเป็นภาษาเครื่อง(Compile) ซึ่งจะได้ไฟล์นามสกุล . obj 3. การเชื่อมโยงโปรแกรม(Link) เป็นการเชื่อมโยงโปรแกรมกับไลบรารี ซึ่งจะเป็นผลให้เกิดไฟล์ .exe

การแปลรหัสของภาษาซี SourceCode Complie Link Run Test.exe Test.c Test.OjB Test.lik

โปรแกรมจะนำ Source Code (โปรแกรมที่เขียนขึ้น) ที่มีชนิดของไฟล์เป็น โปรแกรมจะนำ Source Code (โปรแกรมที่เขียนขึ้น) ที่มีชนิดของไฟล์เป็น .C มา Compile (แปล) ให้เป็น ออบเจ็กต์โค้ด (Object code) คือ ภาษาเครื่อง) ได้ไฟล์ที่มีชนิดไฟล์เป็น .OBJ ขั้นตอนการรันโปรแกรม (Run) ในขณะนี้อาจมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ซึ่งเรียกว่า Run time error โปรแกรมจะหยุด ต้องแก้ไข error ก่อนแล้วจึงจะทำการลิงค์ (link คือการรวมโปรแกรมย่อยเข้ากับโปรแกรมหลัก) ได้ไฟล์ที่มีชนิดข้อมูลเป็น .EXE

ภาษาซีเป็นภาษาระดับกลาง มีการใช้ภาษาพูดเขียนโปรแกรมเช่นเดียวกับภาษาระดับสูงอื่น ๆ แต่มีวิธีการเขียนโปรแกรมที่สามารถติดต่อกับเรจิสเตอร์ และหน่วยความจําโดยตรงได้เช่นเดียวกับภาษา ระดับตํ่า ทำให้ภาษาซีเป็นภาษาที่รวมจุดเด่นของภาษาระดับตํ่าและภาษาระดับสูงไว้ด้วยกันนั้นคือ ภาษาซีจะทํางานได้เร็วใกล้เคียงกับภาษาระดับต่ำและเขียนโปรแกรมได้ง่าย เช่นเดียวกับภาษาระดับสูง ไม่ผูกติดกับฮาร์ดแวร์ จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรม มากที่สุด ตัวแปลโปรแกรมที่ใช้เป็นหลักในการสอนคือ เทอร์โบซี

END

งาน ส่ง ท้าย คาบ 1.ภาษาคอมพิวเตอร์ มีกี่ ระดับ อะไรบ้าง ...................................... 2.จงอธิบายการทำงาน ของภาษา C ส่งที่ E-mail : b_supapon@hotmail.com