Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

ค่าของทุน The Cost of Capital
ทอฟฟี่มะละกออัลมอนด์
รหัส หลักการตลาด.
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การเลือกคุณภาพสินค้า
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
เงิน.
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
Lesson 11 Price.
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 1 อัตราส่วน.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
MARKET PLANNING DECISION
Location Problem.
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
Computer Applications in Production
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 การค้าส่ง.
การรวมธุรกิจ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 7 ราคา Price.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน Thonburi University A.suchada Hommanee

1. บทบาทและประเภทของต้นทุน 1.1 บทบาทของต้นทุนในการกำหนดราคา 1.2. ต้นทุนจำแนกตามความสัมพันธ์กับส่วนธุรกิจ มีดังนี้ 1 ต้นทุนโดยตรง 2 ต้นทุนทางอ้อมที่จำแนกได้ 3 ต้นทุนร่วม 4 ต้นทุนเสียโอกาส 5 ต้นทุนเป็นเงินสดและไม่ใช่เงินสด

บทบาทและประเภทของต้นทุน (ต่อ) 1.3. ต้นทุนจำแนกตามความสัมพันธ์กับกิจกรรมของกิจการ 1. ต้นทุนผันแปร (Variable Costs : VC) หมายถึง ต้นทุนซึ่งผันแปรไป ตามระดับของกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่ง สามารถวัดต้นทุนผันแปรในลักษณะของ ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (Average Variable Cost : AVC) และต้นทุนผันแปรรว (Total Variable Cost: TVC) ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนผันแปรเฉลี่ยและต้นทุนผันแปรรวม แสดงโดยสูตร ดังนี้ TVC = AVC * Q หรือ AVC = TVC Q Thonburi University A.suchada Hommanee

ต้นทุนผันแปร (Variable Costs : VC) 2. ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost : FC) - ต้นทุนคงที่ของโปรแกรมหนึ่งโดยเฉพาะ(Specific Programmed Cost) - ต้นทุนคงที่ทั่วไป (General Programmed Cost) 3. ต้นทุนกึ่งผันแปรกึ่งคงที่ (Semivariable Cost) 2. วิธีการกำหนดราคาโดยมุ่งที่ต้นทุน 2.1 การกำหนดราคาแบบบวกเพิ่มจากต้นทุน (Cost Plus Method) 2.2 การกำหนดราคาโดยแบบบวกกำไรส่วนเพิ่มไว้ในราคาขาย (Markup Pricing) Thonburi University A.suchada Hommanee

1. การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน (Cost-plus Method) ราคา = ต้นทุนคงที่รวม + ต้นทุนผันแปรรวม + กำไรที่ต้องการ ปริมาณการขาย (ปริมาณการผลิต) หรือ TC + กำไรทั้งหมด Q ตัวอย่าง ต้นทุนรวมคงที่ 40,000 บาท ต้นทุนผันแปรรวม 50,000 บาท ต้องการกำไร 10,000 บาท ปริมาณการผลิต 10,000 บาท ราคา = 40,000 + 50,000 + 10,000 = 10 บาท 10,000 Thonburi University A.suchada Hommanee

แบบฝึกหัด 1. การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน (Cost-plus Method) ราคา = ต้นทุนคงที่รวม + ต้นทุนผันแปรรวม + กำไรที่ต้องการ ปริมาณการขาย (ปริมาณการผลิต) โจทย์ กิจการแห่งหนึ่งมีต้นทุนรวมคงที่เท่ากับ 200,000 บาท ต้นทุนผันแปรรวม 100,000 บาท และต้องการกำไร เท่ากับ 200,000 บาท ปริมาณการผลิต 100,000 หน่วย จะต้องตั้งราคาสินค้าเท่าใด Thonburi University A.suchada Hommanee

2. การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากราคาขาย (Mark Up on Selling Price or Mark up Pricing) ราคา = ______________ต้นทุน_________________ 100% - อัตรากำไรส่วนเพิ่มในราคาขาย ตัวอย่าง ต้นทุนเสื้อตัวละ 30 บาท พ่อค้าต้องการกำไรส่วนเพิ่มในราคา 40% จะขายราคาเท่าไร ราคา = ____30____ = 30_ = 50 บาท 100% - 40% 60% Thonburi University A.suchada Hommanee

แบบฝึกหัด 2.การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากราคาขาย (Mark Up on Selling Price or Mark up Pricing) ราคา = ______________ต้นทุน_________________ 100% - อัตรากำไรส่วนเพิ่มในราคาขาย โจทย์ ร้านจำหน่ายรองเท้าแห่งหนึ่ง ซื้อรองเท้ามาราคา คู่ละ 100 บาท เขาต้องการกำไรประมาณ 50% ของราคาขาย เขาควรขายรองเท้าใน ราคาคู่ละเท่าใด Thonburi University A.suchada Hommanee

การสร้างราคาโดยวิธีที่เหมาะสม 1. ใช้ต้นทุนเป็นหลักสำคัญ Cost-plus Pricing Mark up Pricing Break – Even Point Fix cost Variable Cost Total Cost 2. การกำหนดราคาตามตลาด Thonburi University A.suchada Hommanee

การกำหนดราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน (Cost-plus Pricing) คำนวณง่าย สะดวก ประมาณการยอดขาย คำนวณต้นทุนต่อหน่วย กำหนดกำไรต่อหน่วยที่ต้องการ มีข้อควรระวังในการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย ที่เป็นต้นทุนเฉลี่ย ณ ระดับการประมาณการยอดขาย Thonburi University A.suchada Hommanee

กิจการผลิตครีมสปา มีต้นทุนผันแปร กระปุกละ 100 บาท ตัวอย่างที่ 1 กิจการผลิตครีมสปา มีต้นทุนผันแปร กระปุกละ 100 บาท ต้นทุนคงที่รวม 3,000,000 บาทต่อเดือน คาดว่าจะขายได้เดือนละ 50,000 กระปุก ต้องการได้กำไร กระปุกละ 50 บาท ต้นทุนต่อหน่วย = VC + FC = 100 + 3,000,000 = 160 บาท Q 50,000 ราคาขาย = ต้นทุนต่อหน่วย + กำไรที่ต้องการ = 160 + 50 = 210 บาท Thonburi University A.suchada Hommanee

การกำหนดราคาโดยใช้ส่วนเพิ่ม (Markup Pricing) สะดวกในการเปรียบเทียบราคาขาย ทำให้เข้าใจโครงสร้างต้นทุน ราคา และกำไร กำหนดร้อยละส่วนเพิ่ม (Markup Percentage) ที่ต้องการ คำนวณราคาโดยอ้างอิงต้นทุนและร้อยละส่วนเพิ่ม มีวิธีคำนวณ 2 แบบ คือ Markup on Cost Markup on Selling Price Thonburi University A.suchada Hommanee

Mark-Up on Cost Mark-Up on Price ตัวอย่าง 1-1 เข็มขัดราคาทุน 160 บาท ต้องการกำไร 20% จะตั้งราคาเท่าไร? ใช้วิธีการเทียบบัญญัติไตรยางศ์จากสูตร Price = Cost + Mark-Up Mark-Up on Cost Mark-Up on Price Price = Cost + Mark-Up Price = 100 + 20 120 = 100 + 20 Price = Cost + Mark-Up 100 = Cost + 20 100 = 80 + 20 วิธีคิด ทุน 100 ขาย 120 ทุน 160 ขาย 120 x 160 100 ตอบ ขาย 192 บาท วิธีคิด ทุน 80 ขาย 100 ทุน 160 ขาย 100 x 160 80 ตอบ ขาย 200 บาท Thonburi University A.suchada Hommanee

การกำหนดราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เป็นการกำหนดราคาโดยอาศัยต้นทุนร่วมกับระดับความต้องการ (Demand) ณ ระดับราคาต่างๆมาเป็นปัจจัยหลักในการกำหนดราคา - จุดคุ้มทุน (Break – Even Point) หมายถึง “ระดับปริมาณการผลิตและ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ทำให้เกิดรายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวมของกิจการ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม (หน่วยผลิตภัณฑ์) ราคาขาย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ราคาขาย ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม + ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย = ต้นทุนคงที่ต่อหน่วย + ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ปริมาณขาย (หน่วย) Thonburi University A.suchada Hommanee

การกำหนดเป้าหมายกำไร (Target Profit Pricing) นำแนวคิดเรื่องจุดคุ้มทุน (Break Even) มาใช้ใน การกำหนดราคา การคำนวณกำไรส่วนที่เกิน จากต้นทุนคงที่ ใช้สูตร TR (= P x Q) BEP P Q Profit TC (= FC + VC) FC FC Contribution = P - VC Thonburi University A.suchada Hommanee

ดังนั้น จะต้องขายเพิ่มขึ้นอีก = 200 10 = 20 ด้าม ตัวอย่างที่ 2 กิจการผลิตปากกาแห่งหนึ่ง มีต้นทุนคงที่ 600 บาท ต้นทุนผันแปร ด้ามละ 5 บาท ตั้งราคาขาย ด้ามละ 15 บาท BEP (Unit) = FC P - VC FC Contribution = P - VC = 15 - 5 = 10 บาทต่อหน่วย = 600 15 - 5 ดังนั้น จะต้องขายเพิ่มขึ้นอีก = 200 10 = 20 ด้าม รวมเป็นต้องขายทั้งสิ้น 80 ด้าม BEP (Unit) = 60 ด้าม ถ้าต้องการกำไร 200 บาท จะต้องขายปากกาให้ได้กี่ด้าม? Thonburi University A.suchada Hommanee

2 การกำหนดราคาโดยอาศัยกลไกการตลาด 2 การกำหนดราคาโดยอาศัยกลไกการตลาด การกำหนดราคาโดยอาศัยกลไกตลาด (Price Base on Demand and Supply) เป็นการกำหนดราคาโดยทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ที่ว่าด้วยกฎ ของอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) ราคา Supply เป็น ระดับราคา ดุลภาค จุดดุลภาพ Demand ปริมาณ Thonburi University A.suchada Hommanee